โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

คุณจะได้รับประโยชน์มากกว่า ถ้าคุณรู้ว่าควรจะกินอย่างไร
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
แผนการสอนชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านสารเคมี
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สีผสมอาหาร Group’s Emblem.
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
สารเมลามีน.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
Myasthenia Gravis.
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
Tuberculosis วัณโรค.
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
การเป็นลมและช็อก.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
ความเสี่ยงอันตรายจาก
โรคเบาหวาน ภ.
การใช้ยาและอาการไม่พึงประสงค์ ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
กินตามกรุ๊ปเลือด.
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
สารปรุงแต่งอาหาร.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
กำมะถัน (Sulfur).
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร มีอาหารหลายชนิดที่เรากินโดยไม่รู้ว่ามีสารเคมีปนเปื้อนอยู่ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ อาจเป็นต้นเหตุให้เกิดโรคร้ายแรงได้ สารเคมีสำคัญๆ ที่มักจะปนเปื้อนในอาหาร 4 ชนิด ที่มักตรวจพบในอาหาร ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารกันบูด สารฟอกขาว สารฟอร์มาลิน

สารบอแรกซ์ ลักษณะทั่วไป : มีลักษณะเป็นผงสีขาว, เป็นสารที่ใช้ในอุตสาหกรรม คุณสมบัติ : ทำให้อาหารมีความกรุบกรอบ คงตัวได้นาน ไม่เสียง่าย ลักษณะอาการ : มี 2 ลักษณะ แบบเฉียบพลัน จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ หงุดหงิด ผิวหนังอักเสบ ผมร่วง แบบเรื้อรัง จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ผิวหนังแห้ง หน้าตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับไตอักเสบ วิธีแก้ไขปัญหา : ไม่ซื้อหมูบดสำเร็จรูป ไม่กินอาหารที่มีลักษณะกรอบ วิธีตรวจสอบ : ใช้ชุดตรวจสอบของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ คือ ถ้า กระดาษขมิ้นเปลี่ยนสีเป็นสีแดง แสดงว่ามีสารบอแรกซ์อยู่

สารกันบูด ความหมาย :เป็นกรดที่มีอันตรายต่อร่างกายมาก ซึ่งผู้ผลิตอาหารบางรา นำมาใส่เป็นสารกันเสียในอาหารแห้ง คุณสมบัติ : ป้องกันเชื้อราขึ้นในอาหาร ลักษณะอาการ : เมื่อกินเข้าไปจะทำลายเซลล์ในร่างกายให้ตาย หากกินเข้า ไปมากๆ จะทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้ ทำให้เป็นแผลใน กระเพาะอาหารและลำไส้ได้   ความดันโลหิตต่ำจนช็อกได้ หรือในบางราย ที่กินเข้าไปไม่มากแต่แพ้ จะทำให้เป็นผื่นคันขึ้นตามตัว อาเจียน หูอื้อ มีไข้ วิธีแก้ไขปัญหา :เลือกกินอาหารที่สดใหม่ ไม่กินอาหารหมักดอง หรือเลือก ซื้อจากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ วิธีตรวจสอบ : การทดสอบเบื้องต้นสารกันรา โดยชุดตรวจกรมซาลิซิลิค ในอาหาร

สารฟอกขาว คุณสมบัติ : ทำให้อาหารมีสีขาว ลักษณะอาการ : เมื่อสัมผัสโดยตรงจะทำให้ผิวหนังอักเสบ เป็นผื่นแดง และ ถ้ากินเข้าไป จะทำให้เกิดอาการอักเสบในอวัยวะที่สัมผัสอาหาร เช่น ปาก ลำคอ กระเพาะอาหาร เกิดอาการปวดหลัง ปวดศีรษะ อาเจียน แน่น หน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตลดลง และหากกินมากอาจ เสียชีวิตได้ วิธีแก้ไขปัญหา : เลือกกินอาหารที่มีสีใกล้เคียงธรรมชาติ ไม่ขาวจนเกินไป วิธีตรวจสอบ : โดยใช้ชุดทดสอบสารฟอกขาวของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์

สารฟอร์มาลิน คุณสมบัติ : ทำให้อาหารคงความสดอยู่ได้นาน ไม่บูดเน่าง่าย คุณสมบัติ : ทำให้อาหารคงความสดอยู่ได้นาน ไม่บูดเน่าง่าย ลักษณะอาการ : เมื่อกินเข้าไปจะเกิดเป็นพิษเฉียบพลัน ตั้งแต่ปวดท้องอย่าง รุนแรง อาเจียน ท้องเสีย หมดสติ และอาจตายได้หากได้รับในปริมาณ มาก วิธีแก้ไขปัญหา : ไม่กินอาหารทะเลสดๆ และเนื้อสัตว์แบบสดๆ วิธีตรวจสอบ : โดยใช้ ชุดทดสอบฟอร์มาลิน ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์

จัดทำโดย 1.ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญทวี ม.1/4 เลขที่14 1.ด.ช.ณัฐพงษ์ บุญทวี ม.1/4 เลขที่14 2.ด.ช.ปัญญณัฐ เทพกุล ม.1/4 เลขที่23 3.ด.ช.วศิน พิพิธพงศ์สันต์ ม.1/4 เลขที่37