หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
ภาษา SQL (Structured Query Language)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
การจำลองความคิด
Arrays.
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบมีทางเลือก
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผังงาน (Flowchart) มหาวิทยาลัยเนชั่น หลักการภาษาชุดคำสั่ง
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
การเขียนอัลกอริทึม แบบโฟลวชาร์ต
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ผังงาน (FLOW CHART) ส่วนประกอบของผังงาน (Flow Chart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น ครูผู้สอน นาสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์ Free Powerpoint Templates หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม โดย น.ส.บุษณีมาศ นิสาธรณ์

สัญลักษณ์รูปของโฟล์วชาร์ต ใช้สำหรับ จุดเริ่มต้น/จุดสิ้นสุด การคำนวณ / การกำหนดค่า นำเข้าข้อมูลหรือแสดงผลข้อมูลออก โดยไม่ระบุสื่อที่ใช้ รับข้อมูลเข้าทางแป้นพิมพ์ การเปรียบเทียบ / การตัดสินใจ

สัญลักษณ์รูปของโฟล์วชาร์ต ใช้สำหรับ แสดงผลข้อมูลทางจอภาพ แสดงผลข้อมูลออกทางเอกสาร ตัวเชื่อมต่อภายในหน้าเดียวกัน ทิศทางการดำเนินงาน เรียกโปรแกรมย่อย

คู่ฉันอยู่ไหน

จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด

ทิศทางการดำเนินงาน

หลักเกณฑ์ในการเขียนผังงาน เริ่มต้น 1. สัญลักษณ์ 1 ภาพ จะแทนคำสั่ง 1 คำสั่ง 2. ทิศทางของลูกศรในผังงาน ควรมีทิศทางจากบนลงล่าง หรืออาจจากซ้ายไปขวาเสมอ 3. ในหนึ่งผังงานจะมีจุดเริ่มต้นและจุดจบที่เดียวเท่านั้น X = 5, Y = 4 X = X + Y สิ้นสุด

ประโยชน์ของผังงาน 1. ใช้สำหรับติดต่อประสานงาน 2. รู้ว่าสิ่งใดควรทำก่อน – หลัง และสามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย 3. ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงเพื่อให้นักเขียนโปรแกรมคนอื่นได้ทราบ 4. ช่วยให้การปรับปรุง แก้ไข และบำรุงรักษาโปรแกรม ทำได้ง่าย

ลักษณะโครงสร้างของผังงาน ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐาน 3 รูปแบบ เริ่มต้น 1. โครงสร้างแบบเป็นลำดับ การทำงานที่เรียงเป็นไปตามลำดับก่อนหลังแต่ละคำสั่งจะมีการประมวลผลเพียงครั้งเดียวเท่านั้น เป็นโครงสร้างที่ง่ายที่สุด คำสั่ง คำสั่ง สิ้นสุด

ลักษณะโครงสร้างของผังงาน 2. โครงสร้างแบบมีตัวเลือก เป็นโครงสร้างที่เป็นแบบ 2 ทางเลือกในการตัดสินใจ เริ่มต้น เงื่อนไข คำสั่ง คำสั่ง สิ้นสุด

ลักษณะโครงสร้างของผังงาน 3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ เป็นโครงสร้างที่มีการสั่งให้ทำงานชุดคำสั่งนั้น ในลักษณะวนซ้ำหลายๆ รอบ เริ่มต้น เงื่อนไข คำสั่ง คำสั่ง สิ้นสุด

เตรียมไข่ไก่ น้ำปลา น้ำมันพืช ตัวอย่าง เริ่มต้น 1. เริ่มต้น 2. เตรียมไข่ไก่ น้ำปลา น้ำมันพืช 3. ตอกไข่ใส่ชาม+ตีไข่ 4. เทน้ำมันพืชใส่กระทะ 5. เทไข่ใส่กระทะ 6. เปรียบเทียบว่าไข่สุกแล้วหรือยัง - ถ้าไข่สุกแล้วจริง ให้เลือกตัดไข่ใส่จาน - ถ้าไข่ยังไม่สุก ให้เลือกพลิกกลับหน้าไข่ในกระทะ 7. จบการทำงาน เตรียมไข่ไก่ น้ำปลา น้ำมันพืช ตอกไข่ใส่ชาม+ตีไข่ เทน้ำมันพืชใส่กระทะ เทไข่ใส่กระทะ ไข่สุก? ใช่ ไม่ใช่ ตักไข่ใส่จาน พลิกหน้าไข่ในกระทะ สิ้นสุด

The End