สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

มหัศจรรย์ น้ำยาล้างจาน.
กิจกรรม อย.น้อย โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
ความกระด้างทั้งหมดของน้ำ
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การทดลองหาแป้งในยาสีฟัน ( วิทยาศาสตร์ )
ผักปลอดภัยจากสารพิษ นางสาววรรณิศา เลี่ยมดำ ภาคพัฒนาการเกษตร
โครงงานสุขภาพ การทดลองผงซักฟอก.
เรื่อง ทดสอบน้ำในโลชัน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
ที่คุณใช้อยู่มี "โซดาไฟ" อยู่มากไหม?
โครงงานสุขภาพ เรื่อง การเลือกแชมพูที่ดี.
โครงงานสุขภาพ วิชาสุขศึกษา เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์
ชื่อโครงงาน ค่า R.O.ในน้ำ
โครงงานสุขภาพ เรื่อง โฟมล้างหน้า
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
ที่ กค /ว 46 วันที่ 8 มิถุนายน 2555
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
สารเมลามีน.
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
โรคอุจจาระร่วง.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
โซเดียมไทโอไนต์ หรือ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ สารห้ามใช้
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
สารเคมีแช่ท่อนพันธุ์
ความสำคัญ ของการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย โดย ดวงเดือน สมวัฒนศักดิ์ ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สสข.1 ชัยนาท.
และความเป็นกรด-ด่างของดิน
การเป็นลมและช็อก.
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความเสี่ยงอันตรายจาก
การช่วยเหลือผู้จมน้ำ
น้ำมะขาม น้ำกระเจี๊ยบแดง
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
กล้วย.
Nipah virus.
สารปรุงแต่งอาหาร.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
“เอ็น (N) พี (P) และ เค (K)”
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ผลไม้เพื่อสุขภาพ จัดทำโดย ด.ญ.ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สารฟอกขาวในถั่วงอก โครงงานสุขภาพ เสนอ ดร. สุมน คณานิตย์ ดร. สุมน คณานิตย์ M.1/16 –DEC.2553

คณะทำงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/16 1 2 3 4 5 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/16 ด.ช. ณัฐชนน จิรวงศ์ เลขที่16 1 ด.ช. ธนพัฒน์ ภูมิยุทธิ์ เลขที่ 21 2 ด.ช. นวิน สุวรรณอัตถ์ เลขที่ 30 3 ด.ญ.พิชญา อิทธิพัทธ์ไพศาล เลขที่ 35 4 ด.ช. พีรพัฒน์ ชนะวรรณโณ เลขที่ 36 5 ด.ช. วรวุฒิ มะพารัมย์ เลขที่ 47 6 M.1/16 –DEC.2553

แนวคิดที่จะทำโครงงาน 1.  เพื่อตรวจสอบหาสารฟอกขาวที่ปนเปื้อนใน ถั่วงอกที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย 2.  เพื่อทราบถึงสารฟอกขาวที่ปนเปื้อนในถั่วงอก 3.  เพื่อทราบถึงพิษของสารฟอกขาวที่ปนเปื้อน ในถั่วงอก 4. เพื่อนำความรู้ที่ได้จากการทดลองไป ประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานจริง 5 เพื่อให้ทุกคนมีสุขภาพแข็งแรง M.1/16 –DEC.2553

ตัวอย่างสารฟอกขาว สารฟอกขาว (โซเดียมไฮซัลไฟต์) หรือเรียกว่า ผงซักมุ้ง ใช้ฟอกแห-อวนให้ขาว ห้ามใส่ในอาหาร M.1/16 –DEC.2553

อันตรายจากสารฟอกขาว 1. ทำให้ผิวหนังอักเสบเป็นผื่นแดง 2. ถ้าบริโภคเข้าไปจะทำให้เกิดอาการอักเสบใน อวัยวะที่ไปสัมผัสเช่น ปาก ลำคอ กระเพาะอาหาร 3. ทำให้เกิดอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่สะดวก ความดันโลหิตต่ำ ปวดท้อง ปวดศีรษะ อาเจียน อุจจาระร่วง 4. หากแพ้สารนี้อย่างรุนแรงจะทำให้ถ่ายเป็นเลือด ชัก ช็อก หมดสติ หายใจไม่ออก ไตวาย และ เสียชีวิตในที่สุด M.1/16 –DEC.2553

ตัวอย่างของชุดทดสอบที่นำมาทดลอง ตัวอย่างชุดทดสอบ M.1/16 –DEC.2553

แหล่งที่มาของถั่วงอกที่นำมาทดลอง จากร้านค้าที่ 3 จากร้านค้าที่ 5 จากร้านค้าที่ 8 M.1/16 –DEC.2553

1 2 ขั้นตอนการดำเนินงาน การทดลอง - ตักถั่วงอก ใส่ในถ้วย พอประมาณ - ตักถั่วงอก ใส่ในถ้วย พอประมาณ - เติมน้ำสะอาดประมาณ 10มิลลิลิตร - บดถั่วงอกให้แตก เทน้ำลงในถ้วย ทดลอง - หยดน้ำยาในขวดหยด จำนวน 1 – 3 หยด แล้วเขย่าให้เข้ากัน M.1/16 –DEC.2553

สารละลายเป็น สีฟ้าอ่อน สารละลายเป็น สีฟ้าอ่อน ผลการทดลอง 3 แสดงว่าไม่มีสารฟอกขาว จากการทดลองทั้ง 3 ครั้งไม่มีสารฟอกขาวเจือปน รับประทานได้ M.1/16 –DEC.2553

สรุปผลการดำเนินงาน 2 1 สารละลาย 3 เปลี่ยนเป็น สีเขียว แสดงว่าไม่ มีสารฟอก ขาว 2 1 สารละลายเปลี่ยนเป็นสีฟ้าอ่อนแสดงว่าไม่มีสารฟอกขาว 3 สารละลาย เปลี่ยนเป็น สีเทา-ดำ แสดงว่า มีสารฟอกขาว ถ้าหาก สารละลายเปลี่ยนเป็นสีเทา - ดำ แสดง ว่ามีสารฟอกขาวประเภทโซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เจือปน ห้ามรับประทาน M.1/16 –DEC.2553

ประโยชน์ที่ได้รับ 1 2 3 4 1 ได้ทราบถึงอาหารที่มีสารปนเปื้อนที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่วไป ได้นำความรู้ที่ได้จากการทดลองไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจริง ผู้บริโภคได้รับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัยปราศจากสารปนเปื้อน  นำผลการทดลองมาให้ความรู้แก่ ผู้บริโภค M.1/16 –DEC.2553

จบโครงงานสุขภาพ Thank You ! ขอบคุณครับ M.1/16 –DEC.2553