ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางในการดำรงชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางในการดำรงชีวิต
พระราชดำรัสฯ เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง “สมัยก่อนนี้ พอมีพอกิน สมัยนี้ชักจะไม่ พอมีพอกิน จึงต้องมีนโยบายที่จะทำเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อที่จะให้ทุกคนมีความพอเพียงได้ ให้ พอเพียง นี้ ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่า..พอ..” (พระราชดำรัสฯ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 4 ธันวาคม พ.ศ.2541 )
พอเพียง คือ ไม่เบียดเบียน ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง พระราชดำรัส (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑) เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ความพอเพียงนี้ อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง (๔ ธ.ค. ๒๕๔๑)
เป้าประสงค์ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญา ชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของ ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อ โลกยุคโลกาภิวัตน์ แนวทางการปฏิบัติทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน และรัฐบาล แนวทางของทางสายกลาง
การมีภูมิคุ้มกันต่อ ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง หลักความพอเพียง ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็น ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันต่อ ผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลง
เงื่อนไขของเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการ นำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและ ดำเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้าง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจใน ทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์ สุจริต ให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนิน ชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เงื่อนไขหลักวิชา เงื่อนไขคุณธรรม เงื่อนไขการดำเนินชีวิต
ประโยชน์ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้สมดุลและพร้อม ต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี ความสมดุลด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง ในการดำรงชีวิต/การปฏิบัติตนในทุกระดับ (ครอบครัว/ชุมชน/รัฐ) และการพัฒนา/บริหารประเทศ แนวคิด พอประมาณ หลักการ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน ความรอบรู้ คุณธรรม การดำเนินชีวิต เงื่อนไข ความรู้ในตัวคน ในหลักวิชา รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์ สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติ สังคมอยู่ดีมีสุข เป้า ประสงค์ “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน”
หลักของความพอประมาณ (พอดี) 5 ประการ เข้มแข็ง มีจิตสำนึกที่ดี เอื้ออาทร ประนีประนอม คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม พอดีด้านจิตใจ ช่วยเหลือเกื้อกูล รู้รักสามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัว และชุมชน พอดีด้านสังคม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาด รอบคอบ และเกิดความ ยั่งยืนสูงสุด พอดีด้านทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องต่อความต้องการ เป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมและส่วนรวม และพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้าน พอดีด้านเทคโนโลยี เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดำรงชีวิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตตาภาพและฐานะของตน พอดีด้านเศรษฐกิจ
หลักของความมีเหตุผล ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์ และแข่งขันในทางการค้าขาย หาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ปฏิบัติตนในทางที่ดี ลด เลิก สิ่งยั่วยุกิเลสให้หมดสิ้นไป พยายามเพิ่มพูนรักษาความดีที่มีอยู่ให้งอกงามสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
หลักของความมีภูมิคุ้มกัน มีความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน และแบ่งปัน