งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
Advertisements

ผลของดนตรีบำบัดต่อความวิตกกังวลและความปวดในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับยาเคมีบำบัด (Effect of music therapy on anxiety and pain in cancer patients) ชื่อผู้วิจัย.
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวโน้มผู้ป่วยอุบัติเหตุจราจร ปี
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
ประเด็นสำคัญ เป็นโรคที่พบตั้งแต่แรกเกิด ต้องการการดูแลต่อเนื่องระยะยาว
ผลการคัดกรองโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
กลุ่ม ๕.
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หลักการและเหตุผล ผู้หญิงแบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 3 ช่วงชีวิต
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่ม ที่มีแอลกอฮอล์
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
ผลงานวิจัย ทัศนคติการบริโภคเครื่องดื่มบำรุงกำลังของผู้ประกอบอาชีพถีบสามล้อในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก สิงหาคม 2543 โดย นายเกตุ ชูพันธ์ นายสมควร เดชะศิลารักษ์
B3 นสพ.ต้า นิรุกติศานติ์ นสพ.ปารเมศ เทียนนิมิตร
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
การให้บริการส่งยาสำหรับ ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังทางไปรษณีย์
วิธีการทางวิทยาการระบาด
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
การเฝ้าระวังและสถานการณ์ โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัด สุรินทร์ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 โดย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุรินทร์
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย Routine to Research : R2R
ปัญหา เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
70 th Anniversary of URU Goal : The University of Quality สู่ มหาวิทยาลัยคุณภาพได้มาตรฐานระดับชาติ สคน. การบรรยายพิเศษ “ นโยบายด้านการประกันคุณภาพ การศึกษา.
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ชื่อผลงาน ถุงมหัศจรรย์.
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
กรอบการพัฒนาตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กันยายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
สาขาโรคมะเร็ง.
ชื่อผลงานวิจัย : พฤติกรรมการใช้จ่ายกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน มีนาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
โครงการ พัฒนาคุณภาพบันทึกทางการพยาบาล หอผู้ป่วยพิเศษ 1
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนพฤศจิกายน.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช

ทบทวนวรรณกรรม จาก Principle and practice of infection disease โดย Mandell ( 4 th edition, 1995 )  พบว่า UTI เป็น most common infection ที่พบในโรงพยาบาล ประมาณ 80% ของ nosocromial UTI จะเกิดกับ ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

ปัจจัยเสี่ยง เพศ อายุ โรคเดิม ระยะเวลาการใส่ cath การดูแลสาย cath

@ พบว่า ผู้ป่วย 15 -25 % ขอแงผู้ป่วยโรคทั่วไปที่ได้รับการใส่สายสวนปัสสาวะ ส่วนใหญ่เป็นแบบ short term ( mean = 2 วัน ) @ 10 -30 % ของผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะเป็น UTI @ Short term เชื้อที่พบบ่อย คือ E. Coli @ Long term เชื้อที่พบบ่อย คือ P. aeruginosa & P. mirabilis

จาก Color Atlas & Text of Clinical Medicine โดย Jackson ( 2 nd edition , 1997 ) พบว่าอุบัติการณ์การเกิด UTI # ในเพศหญิงจะเพิ่มขึ้นตามอายุ # เพศชายพบสูงใน Neonatal period พบน้อยใน Childhood & Adult # เพศหญิง > เพศชาย # พบมากใน Advancing age

จากการศึกษาระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดโรงพยาบาลบุรีรัมย์ 2539 พบว่า $ อุบัติการณ์พบร้อยละ 33.18 $ ระยะเวลาเฉลี่ยที่พบ UTI คือ 6.5 วัน $ จำนวนวันที่คาสายสวนปัสสาวะ และมีการเกิด UTI สูงสุด คือ 6 วัน $ อัตราการเกิด UTI ระหว่าง ชาย:หญิง = 1:2

คำถามหลัก อุบัติการณ์การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิดเป็นอย่างไร คำถามรอง 1. ชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด UTI คืออะไร 2. ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะต่อ การติดเชื้อ แยกตามเพศอายุเป็นอย่างไร

3. ความแตกต่างในอุบัติการณ์การเกิด UTI ในแต่ละแผนกเป็นอย่างไร 4 3. ความแตกต่างในอุบัติการณ์การเกิด UTI ในแต่ละแผนกเป็นอย่างไร 4. โรคเดิมของผู้ป่วยมีความสัมพันธ์กับการเกิด UTI ในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะหรือไม่ 5. อัตราการเกิด UTIมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใส่สายสวนของบุคลากรหรือไม่

วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาระยะเวลาอุบัติการณ์การติดเชื้อและชนิดของเชื้อที่เป็นสาเหตุของ UTIในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะระบบปิด ของโรงพยาบาลพุทธชินราช

METHOD Descriptive Retrospective Study ระยะเวลา กรกฎาคม -สิงหาคม 2543 METHOD Descriptive Retrospective Study ระยะเวลา กรกฎาคม -สิงหาคม 2543 การเลือกกลุ่มตัวอย่าง Inclusion Criteria 1. Pt. ที่คาสายสวนปัสสาวะใน Med , Surg , Obs , Gyne , Ped 2. Pt. ที่ไม่ได้รับการ Dx. UTI , UA แรกรับปกติ

Exclusion Criteria 1. Pt. ที่มีไข้ก่อนใส่สายสวนปัสสาวะ 2 Exclusion Criteria 1. Pt.ที่มีไข้ก่อนใส่สายสวนปัสสาวะ 2. Abnormal UA at admission Sampling technique Perposive sampling Sample size * Pt. ทุกรายที่มีการคาสายสวนปัสสาวะตั้งแต่ เดือน ก.ค. - ส.ค. 2543

* การสังเกตการทำหัตถการการใส่สายสวนปัสสาวะตามหอผู้ป่วยต่างๆ หอละ 20 ครั้ง เกณฑ์การวินิจฉัย UTI ตามเกณฑ์ของ CDC 1988 1. Temp. > 38 C ร่วมกับ พบเชื้อในปัสสาวะ > 10 5 2. Temp. > 38 C ร่วมกับ Pyuria ( WBC > 3 / HPF ) 3. Gram strain positive 4. U/C พบเชื้อ

RESULT

Discussion. จำนวน Pt. ที่คาสาย cath =446 ราย. จำนวน Pt Discussion จำนวน Pt. ที่คาสาย cath =446 ราย จำนวน Pt. ที่เกิด UTI = 52 ราย คิดเป็นอุบัติการณ์ร้อยละ 11.66

อุบัติการณ์การติดเชื้อ เพศหญิง = 5. 6 เพศชาย = 6. 05 แผนกอายุรกรรม =8 อุบัติการณ์การติดเชื้อ เพศหญิง = 5.6 เพศชาย = 6.05 แผนกอายุรกรรม =8.74 แผนกศัลยกรรม = 2.91

@ ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะ=6 @ ระยะเวลาเฉลี่ยของการคาสายสวนปัสสาวะ=6.9 วัน @ วันที่เกิด UTI มากที่สุด = วันที่ 3 ของการคา Cath @ ช่วงอายุที่พบ UTI มากที่สุด = 70-79 ปี ( 23.08 %) @ เชื้อที่พบมากที่สุด = E. Coli ( 26.92 % ) @ Underlying disease ที่พบมากที่สุด คือ โรคที่เกี่ยวกับ ระบบประสาท ( 34.62 % )

Recomendation

THE END