แบบฝึกหัด (drill and Practice)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
Advertisements

แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
Teaching procedural skill
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
รายละเอียดของการทำ Logbook
ระบบสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ E-learning วิชาภาษาอังกฤษ 1
Thesis รุ่น 1.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
โครงงานวิชาคณิตศาสตร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction)
สื่อการสอนที่ทำให้การสอนงานคลินิกน่าสนใจ
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกม (Game).
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทติวเตอร์ Tutorial.
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
การใช้สถานการณ์จำลองในการจัดการเรียนรู้ (Simulation Method)
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การเขียนแผนการสอน ด้านทฤษฎี 13. นายบัญญัติ สมสุพรรณ ครูเชี่ยวชาญ
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ โดย นางสาวพรรัมภา ชูรักษ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การสอนกลุ่มใหญ่(Large Group Teaching)
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
L o g o บ ท ที่ 8 การเป็นนัก แปล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กรุงเทพ.
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ด้วยการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคนิคการใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ เทคนิคจิกซอว์ เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น.
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ ชื่อรหัสกลุ่ม นานวิษณุ มิครเอม B05 นายวิษณุ มิตรเอม รหัสนิสิต กลุ่ม B05 คณะวิทยาศาสตร์ เอกวัสดุศาตร์
เรื่อง การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การวัดการกระจายสัมบูรณ์ โดยใช้วิธีทำแบบฝึกหัดทบทวน และทดสอบหลังบทเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
ทฤษฎีการเรียนรู้ กับการพัฒนานวัตกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างสื่อ e-Learning
นางสาววีรนุช เรือนสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ 1. ทำบันทึกการสอนได้ อย่างเหมาะสม 2. ปฏิบัติการสอนตามบันทึก การสอนได้ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้วผู้เข้ารับการ.
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แบบฝึกหัด (drill and Practice) รูปแบบของ E-Learning แบบฝึกหัด (drill and Practice) ความหมาย คอร์สแวร์แบบฝึกหัด หมายถึง คอร์สแวร์ที่อนุญาตให้ผู้เรียนฝึกฝนซ้ำแล้ว ซ้ำอีกเพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ใดความรู้หนึ่ง หรือทักษะใดทักษะหนึ่ง โดยความรู้และทักษะนั้นๆ จะเป็นความรู้และทักษะขั้นพื้นฐาน ตัวอย่างของคอร์สแวร์เพื่อการฝึกฝนที่นิยมได้แก่ คอร์สแวร์ฝึกการคำนวณอย่างง่าย และคอร์สแวร์สอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ โครงสร้างของคอร์สแวร์จะคล้ายกับวงจรแบบทดสอบ (testing cycle) นั่นเอง กล่าวคือ จะเริ่มด้วยการนำเสนอปัญหาหรือคำถามให้ผู้เรียนตอบ หลังจากที่ผู้เรียนตอบคำถามแล้ว ก็จะมี การนำเสนอผลป้อนกลับก่อนที่จะมีการนำเสนอคำถามในข้อต่อไป

แสดงภาพตัวอย่างการนำเสนอเนื้อหาประเภทแบบ แบบฝึกหัด ที่มา : http://cmuonline.chiangmai.ac.th

แสดงภาพตัวอย่างการนำเสนอเนื้อหาประเภทแบบ แบบฝึกหัด ที่มา : http://cmuonline.chiangmai.ac.th

แบบฝึกหัด (drill and Practice) เนื้อหาที่เหมาะสม เนื้อหาที่เหมาะสมสำหรับคอร์สแวร์ประเภทแบบฝึกหัด ได้แก่ เนื้อหาประเภทความจำ หรือเนื้อหาประเภทที่เป็นความจริง (facts) ที่ต้องการให้ผู้เรียนจดจำเพื่อการเรียกใช้ภายหลังได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเนื้อหาที่เหมาะสมได้แก่ ศัพท์ภาษาต่างประเทศ ภาษามือ สัญญลักษณ์ต่างๆ การสะกดคำ ไวยากรณ์ กฎการวรรคตอน ไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรม เป็นต้น

แบบฝึกหัด (drill and Practice) รูปแบบการเรียนที่เหมาะสม คอร์สแวร์ประเภทแบบฝึกหัดนี้จะเริ่มจากการนำเข้าสู่บทเรียนซึ่งรวมถึงการต้อนรับผู้เรียนเข้าสู่เนื้อหาและอธิบายวิธีการที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติ รวมทั้งวัตถุประสงค์ของการเรียน หลังจากนั้นจะมีการนำเสนอคำถาม ผู้เรียนจะคอยตอบคำถามและได้รับผลป้อนกลับ หลังจากได้รับผลป้อนกลับก็จะมี ข้อคำถามถูกนำเสนอต่อไปเรื่อยๆ จนกระทั่งครบทุกข้อ ผู้เรียนก็จะต้องสรุปเนื้อหาที่ได้เรียนมาและพยายามประยุกต์สิ่งที่ได้ศึกษามากับตัวอย่างอื่นๆ ในสถานการณ์ที่ใกล้เคียงกับชีวิตจริงมากขึ้น

แสดงรูปแบบการเรียนที่เหมาะสมสำหรับคอร์สแวร์ ลำดับการนำเสนอ ส่วนนำเข้า (อธิบายวิธีการที่ผู้เรียนต้องปฏิบัติและสิ่งที่ผู้เรียนจะได้รับ) บทสรุปและนำไปใช้ (สรุปเนื้อหาของสิ่งที่ได้ศึกษามา ให้สถานการณ์ในการนำไปใช้) นำเสนอปัญหาคำถาม (คำถามที่อนุญาตให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ หรือทักษะที่ได้เรียนมา) แก้ปัญหาตอบคำถาม (ให้โอกาสผู้เรียนในการแก้ปัญหา) บทสรุป (ทบทวนประเด็นต่างๆที่ได้กล่าวมาแต่ละหัวข้อ) ผลป้อนกลับ (ผลป้อนกลับตามคำตอบที่ได้รับจากผู้เรียน) แสดงรูปแบบการเรียนที่เหมาะสมสำหรับคอร์สแวร์ ประเภทแบบฝึกหัด

แบบฝึกหัด (drill and Practice) คำแนะนำสำหรับการออกแบบ - สร้างคลังคำถาม/คำตอบ ถ้าเป็นไปได้ควรออกแบบคอร์สแวร์ให้สามารถสร้างคลังคำถาม/คำตอบเพื่อการสุ่มคำถามใหม่ๆ ขึ้นมาถามผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้เรียนใช้วิธีจำคำถาม และเบื่อกับการทำแบบฝึกหัด - จัดให้มีคำถามที่มีระดับความง่าย – ความยาก ควรออกแบบให้คอร์สแวร์มีการเพิ่มระดับความยากขึ้นไปเรื่อยๆ ในขณะที่ผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยอาจใช้คำถามที่มีความซับซ้อนขึ้น หรือให้เวลาน้อยลงในการตอบคำถาม เป็นต้น

ผู้จัดทำ นางสาวสุรินทรา ขุนมธุรส รหัส 450070502 เลขที่ 36 แหล่งอ้างอิง ผศ.ดร.ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง . หลักการออกแบบและการสร้างเว็บ เพื่อการเรียนการสอน Designing e-Learning . http://cmuonline.chiangmai.ac.th The End ผู้จัดทำ นางสาวสุรินทรา ขุนมธุรส รหัส 450070502 เลขที่ 36 คณะศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก