Habit of Plant……....

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สวนหมอกและสวนพืชทะเลทราย
Quick Index. การใช้หนังสือคู่มือดูนกภาคสนาม A Field Guide to the Birds Of Thailand โดย Robson (2002)
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
บัวงาม กรุณารอสักครู่
Leaf Monocots Dicots.
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
การเจริญเติบโตของพืช
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
การจัดเรียงตัวของใบมีหลายแบบดังนี้
BIO-ECOLOGY 2.
พืชตระกูลสน Gymnospermae
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
เกาะเลื้อย(creeping)
การเลี้ยงปลากะพงขาว.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ความหลากหลายของพืช.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
โกสน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum Blume
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
การปลูกพืชกลับหัว.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
Next.
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
การออกแบบการเรียนรู้
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ดินถล่ม.
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
ดอกไม้ฤดูหนาว.
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ให้ งามดั่งใจ 1. เทคนิค ปลูกกล้วยไม้ ที่จะเอ่ยถึงต่อไปนี้อาจเป็นอะไรใกล้ ๆ ตัวเราเอง ครับ ผมเชื่อว่าหลายท่านเลี้ยงกล้วยไม้ไป ปลูกกล้วยไม้
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ต้นไม้ ยืนต้น.
ต้นไม้ ที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Habit of Plant……...

Herb (ไม้ล้มลุก) ไม้ล้มลุก (herb) ลำต้นเป็นไม้เนื้ออ่อน เมื่อโตเต็มที่แล้วสูงไม่เกิน 4 ฟุต (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

Shrub (ไม้พุ่ม) ไม้พุ่ม (shrub) ลำต้นมีเนื้อไม้แข็ง เมื่อโตเต็มที่แล้วลำต้นมีขนาดเล็ก แตกกิ่งก้านใกล้พื้นดิน และลำต้นสูงน้อยกว่า 10 ฟุต (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

Tree (ไม้ยืนต้น) ไม้ยืนต้น (tree) ลำต้นมีเนื้อไม้แข็ง เมื่อโตเต็มที่แล้วลำต้นขนาดใหญ่ แตกกิ่งก้านห่างจากพื้นดิน และลำต้นสูงเกิน 10 ฟุต (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

ไม้เลื้อย (climber) ลำต้นอาจเป็นไม้เนื้ออ่อนหรือไม้เนื้อแข็ง เลื้อยพันไปตามต้นไม้หรือวัตถุอื่น ซึ่งสามารถแบ่งเป็นชนิดย่อย ๆ ได้ดังนี้ Twiner คือ ไม้ล้มลุกที่ใช้ลำต้นพันต้นไม้ต้นอื่น ๆ ที่อยู่ใกล้ เพื่อชูตัวเองให้ได้รับแสงอย่างเต็มที่ (เภสัชพฤกษ์ ; 2544)

Tendril climber คือ ไม้ล้มลุกที่ใช้มือจับ(tendril) ในการเกาะเกี่ยวต้นไม้ต้นอื่นที่อยู่ใกล้ เพื่อชูตัวเองให้ได้รับแสงอย่างเต็มที่ Tendril

Root climber คือ ต้นไม้ที่ใช้รากที่ออกตามข้อในการเกาะเกี่ยวต้นไม้อื่น ๆ ที่อยู่ใกล้ ขึ้นไปรับแสงแดด Liane คือ ไม้เลื้อยขนาดใหญ่ที่มีเนื้อไม้ ใช้ลำต้นในการพันกับต้นไม้อื่น ๆ ขึ้นไปรับแสงด้านบน (เภสัชพฤกษ์ ; 2544)

Scandent คือ ต้นไม้ที่ปกติสามารถเจริญตั้งตรงด้วยตัวเองได้ แต่ถ้ามีสิ่งใดให้เลื้อยพันได้ก็จะเลื้อย (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

การจัดแบ่งลำต้นตามลักษณะแหล่งกำเนิดอาศัย (habit) Xerophyte คือ พืชทนแล้ง หรืออยู่ในที่ที่มีน้ำน้อย เช่น ตะบองเพชร สลัดได กุหลาบหิน ฯลฯ พืชพวกนี้มักมีการลดรูปของใบไปเป็นหนาม เพื่อลดการคายน้ำ (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

Mesophyte คือ พืชที่อยู่บนบกที่อาศัยอยู่ในที่ที่มีน้ำอยู่พอสมควร เช่น มะม่วง ลำไย เงาะ ฯลฯ Parasitic plant คือ พืชที่ชอบอาศัยอยู่บนพืชอื่น และเบียดเบียนแย่งอาหารจากต้นไม้นั้น เข่น กาฝาก ฝอยทอง เป็นต้น Halophyte เป็นพืชที่ชอบน้ำเค็ม เช่น แสม โกงกาง ลำพู ฯลฯ

Epiphyte คือ พืชที่ขึ้นอยู่บนต้นไม้อื่น แต่ไม่เบียดเบียนต้นไม้นั้น เช่น กล้วยไม้ (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

Aquatic plant คือ พืชที่อาศัยอยู่ในน้ำ เช่น จอก บัว ฯลฯ (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996) Aquatic plant คือ พืชที่อาศัยอยู่ในน้ำ เช่น จอก บัว ฯลฯ