1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) ดอกไม่สมบูรณ์ (Incomplete flower)
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
Leaf Monocots Dicots.
Cell Specialization.
ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
การจัดเรียงตัวของใบมีหลายแบบดังนี้
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
Application of Graph Theory
การขยายพันธุ์เฟิน วสุ อมฤตสุทธิ์ วิชาหลักการขยายพันธ์พืช
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
Mind Mapping.
ใบไม้.
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
ปีกของแมลง (Insect Wings)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
การจัดองค์ประกอบของภาพ
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
ดอกไม้ รางวัลที่ 1.
จัดทำโดย สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
บทปฏิบัติการที่ 4 หนวดของแมลง (Insect Antennae)
ประเภทของมดน่ารู้.
ประเภทและวิธีการ การขยายพันธุ์พืช ( PLANT PROPAGATION )
ดอกไม้ฤดูหนาว.
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
5. การทาบกิ่ง แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ
โรงเรียนวังไกลกังวล หัวหิน
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
ทรงกลม.
4. การต่อกิ่ง (Grafting) แบ่งออกได้เป็น 5 วิธี
Class Polyplacophora.
Problem tree (ต้นไม้ปัญหา) โดย นางศิริวรรณ หวังดี
ด. ญ. กานต์สิริทองจีน เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/10 เสนอ อ. อรอุมาพงศ์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร ไม้ดอกชนิดพุ่ม.
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
กรวรรณ งามสม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนสอาดเผดิมวิทยา
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
Genus: Hevea Species: brasiliensis Family: Euphorbiaceae
Potato Family: Solanaceae Genus: Solanum Species: tuberosum
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf) ใบแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ blade 1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf) เมื่อพิจารณาจากก้านใบขึ้นไปมีแผ่นใบจำนวนหนึ่งแผ่นใบเท่านั้น แม้ว่าแผ่นใบนั้นจะเว้าซักเท่าไรก็ตาม แต่จะไม่เว้าจนแผ่นใบขาดจากกัน เช่น ระย่อมน้อย สารภี กาหลง mid rib vein petiole (The Royal Horticultural A-Z Encyclopedia of Garden Plant, 1996)

2. ใบประกอบ (Compound Leaf) 2. ใบประกอบ (Compound Leaf) คือใบที่มีก้านใบ (petiole) อันเดียวแต่มีแผ่นใบมากกว่าหนึ่งแผ่นใบขึ้นไปซึ่งใบย่อยนี้เรียกว่า leaflet ก้านใบย่อยเรียกว่า petiolule ช่วงแกนกลางระหว่างที่ petiolule มาติดอยู่เรียกว่า rachis ถ้าใบมีการแตกย่อยมากกว่า 1 ครั้ง แกนกลางย่อยเรียกว่า rachilla ถ้าที่โคนใบย่อยมีหูใบ เรียกว่า stipel ใบประกอบแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ pinnately compound leaf และ palmately compound leaf

เกณฑ์ในการแยกใบเดี่ยวและใบประกอบ Simple Leaf - แผ่นใบหนึ่งแผ่นติดอยู่บนก้านใบที่จะติดกับส่วนของลำต้น ทำให้สังเกตเห็นข้อ ปล้อง และตาบริเวณรอยต่อของก้านใบกับลำต้นได้ชัดเจน - ความอ่อนแก่ของใบบนกิ่งเดียวกันจะไม่เท่ากัน - บริเวณปลายกิ่งจะมีตา หรือ เนื้อเยื่อที่เจริญต่อไปได้

เกณฑ์ในการแยกใบเดี่ยวและใบประกอบ Compound Leaf - บริเวณที่ใบย่อยต่อกับ rachis มักจะไม่พบข้อ ปล้อง และ ตา - ความอ่อนแก่ของใบในหนึ่ง rachis จะเท่ากันในหนึ่ง rachis - บริเวณปลาย rachis มักไม่มีเนื้อเยื่อเจริญที่จะเจริญต่อไปได้ หรือ ตา

ใบประกอบแยกเป็น 2 ชนิด คือ 2.1 Palmately compound leaf หรือใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อยทุกใบออกจากจุดเดียวกัน (The Royal Horticultural A-Z Encyclopedia of Garden Plant, 1996)

2.2 Pinnately compound leaf หรือใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยเรียงตัวบนแกนกลาง (rachis) แบบขนนก ซึ่งแบ่งย่อยตามจำนวนครั้งของการแตกของ rachis ได้เป็น one-pinnate, bi-pinnate, tri-pinnate ดังรูป one-pinnate bi-pinnate tri-pinnate (The Royal Horticultural A-Z Encyclopedia of Garden Plant, 1996)

พัฒนาการของใบประกอบจากใบเดี่ยวทั้งแบบ palmately และ pinnately compound Leaf SIMPLE LEAF 3-PALMATE 5-PALMATE 9-PALMATE SIMPLE LEAF 1-PINNATE 2-PINNATE 3-PINNATE (The Royal Horticultural A-Z Encyclopedia of Garden Plant, 1996)