ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (http://www.csdl.tamu.edu/FLORA/tfplab/reproch.htm)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
Advertisements

รายงาน ความหลากหลายของพืช.
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
การปักชำ เป็นการขยายพันธุ์โดยใช้ส่วนต่างๆของพืช เช่น ราก ใบ หรือ ลำต้นให้เจริญงอกงามเติบโตต่อไป.
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
การจัดเรียงตัวของเส้นใบ แบ่งเป็น 2 แบบใหญ่ ๆ คือ
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
การจัดเรียงตัวของใบมีหลายแบบดังนี้
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
อโศกอินเดีย ชื่อวิทยาศาสตร์ Polyalthia longifolia Benth Pandurata
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแผนที่
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
ประเภทของป่าไม้ ป่าไม้ในประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ 1. ป่าดงดิบหรือป่าไม้ที่ไม่ผลัดใบ 2. ป่าผลัดใบ ซึ่งแต่ละประเภทแบ่งย่อยออกไปเป็นชนิดต่าง ๆ ได้อีก.
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
นำเสนอโดย เด็กชายทักษ์ดนัย แสนวงษ์ ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงอภัสรา ปาสานัย ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงปภัสรา ศรีวาลี ป.5 กลุ่มที่ 3 เด็กหญิงดารัตน์ เหิมสามจอด.
นำเสนอโดย สมุนไพรไทย เด็กหญิงสุทธิดา แก้วกลมรัตน์ ป.5 กลุ่มที่ 4
กระชาย กระชายเป็นพืชผักในวงศ์เดียวกับขิง มีเหง้าหรือโคนลาต้นจมอยู่ใต้ดิน มีรากเรียว ยาวอวบน้ำ และออกเป็นกระจุก ส่วนเหง้าและรากที่มัก เรียกกันว่า หัว จะมีกลิ่นจัดเฉพาะตัวเนื่องจากมีน้ำ.
ใบไม้.
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
สมุนไพรล้างพิษ รางจืด
โรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
ประเภทของมดน่ารู้.
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
Pasture and Forage Crops Glossary
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
เรื่อง พืชสวนครัวสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
Class Monoplacophora.
Class Polyplacophora.
Kingdom Plantae.
ต้นไม้ Tree [1] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลำต้น (Stem) ลำต้นเป็นส่วนที่ยืดตรงอยู่เหนือดิน โดยทั่วไปมีลักษณะเป็นทรงกระบอกแนวตั้ง แต่ก็มีลำต้นบางชนิดอยู่ใต้ดิน บางชนิดทอดไปตามดิน (http://www.csdl.tamu.edu/FLORA/tfplab/reproch.htm)

ประโยชน์ของลำต้น - ช่วยลดการบดบังการรับแสงของใบ ทำให้ใบแผ่ตัวรับแสงได้ทั่วถึง มากขึ้น - ช่วยในการลำเลียงวัตถุดิบในการสังเคราะห์แสง และอาหารที่ได้ จากการสังเคราะห์แสงไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช - ลำต้นบางชนิดเปลี่ยนแปลงตัวเองไปทำหน้าที่อื่น ๆ เช่น สะสม อาหาร ขยายพันธุ์ เป็นต้น

ลักษณะภายนอกของลำต้น ลำต้นประกอบด้วย 1.ข้อ(node) 2. ปล้อง(internode) 3. ตา(bud) ซึ่งตาจะเกิดที่ข้อของลำต้น 4. เปลือก (bark) 5. หนาม แบ่งได้ 3 ชนิด คือ Thorn Prickle Spine 6. ยาง (sap)

เปลือกมีความสำคัญในการจำแนกชนิดต้นไม้เช่นกัน ในกรณีที่พืชบางชนิดมีเปลือกที่มีลักษณะเด่นไม่คล้ายกับต้นไม้อื่น จากภาพจะเห็นว่าเปลือกไม้ของพืชแต่ละชนิดมีความแตกต่างกัน (The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

ชนิดของหนามแบ่งเป็น Spine คือหนามที่เกิดมาจากใบ หรือเปลี่ยนแปลงมาจากส่วนของใบ (เภสัชพฤกษ์ ; 2544)

Thorn คือหนามที่เกิดมาจากกิ่ง หักได้ยาก และเมื่อหักหนามจะเกิดบาดแผลที่ไม่เรียบสวยงามเหมือนกับการหักหนามแบบ Prickle (สมุนไพรสวนสิริรุกขชาติ ; 2543)

Prickle คือ หนามที่เกิดจากเซลล์บริเวณผิวของเปลือก หักแล้วจะเกิดรอยแผลที่เรียบสวยและหักได้ง่ายกว่า Thorn (Botany and Introduction to Plant Biology 5th edition ; 1974)

การจัดแบ่งลำต้นตามหน้าที่พิเศษ แบ่งเป็น ลำต้นที่ใช้ในการสืบพันธุ์ Stolon เป็นลำต้นที่ทอดยาวไปตามพื้น เมื่อส่วนใดสัมผัสกับดินจะงอกรากออกมาแล้วเกิดเป็นต้นใหม่ เช่น สตรอเบอรี่ ผักชีฝรั่ง เป็นต้น (กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืช ; 2543 )

(Botany and Introduction to Plant Biology 5th edition ; 1974) Runner เป็นลำต้นเลื้อยยาวตรงขนานไปบนพื้นดินในแนวราบ งอกรากและต้นใหม่ที่ข้อทุกข้อ เช่น บัวบก ส้มกบ ฯลฯ (เภสัชพฤกษ์ ; 2544)

Sucker ลำต้นใต้ดินที่สามารถงอกรากและลำต้นใหม่ขึ้นมาเหนือพื้นดินแล้วเกิดเป็นต้นใหม่ขึ้น (Botany and Introduction to Plant Biology 5th edition ; 1974)

Offset ลำต้นจะงอกออกไปสืบพันธุ์ทีละข้อ โดยจะงอกปล้องออกไปจากต้นเดิม และที่ปลายของปล้องจะเกิดเป็นต้นใหม่ (พฤกษศาสตร์ ; 2535)

ลำต้นสังเคราะห์แสง (Phyllocade) Cladode ลำต้นเปลี่ยนแปลงไปทำหน้าที่พิเศษคือสังเคราะห์แสงได้และมักเกิดกับพืชที่มีใบลดรูปไปจนไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ (สวนสิริรุกขชาติ ; 2543)

ลำต้นสะสมอาหารแบ่งเป็น Rhizome (เหง้า) เป็นลำต้นใต้ดินที่ทอดขนานไปตามผิวดิน มีข้อมีปล้องที่เห็นชัดเจน ตามข้อมีใบที่แปรสภาพเป็นแผ่นบาง ๆ สีน้ำตาลห่อหุ้มตาไว้มีรากงอกตามตา ตานี้อาจแตกแขนงเป็นหน่อหรือลำต้นเหนือดินได้ เช่น ขิง ข่า เป็นต้น Bulb เป็นลำต้นใต้ดินที่มีลักษณะกลมแป้น ตั้งตรง ที่บริเวณฐานของลำต้นมี scale leaf เรียงซ้อนอัดแน่นทำหน้าที่สะสมอาหาร อาจมีตาแทรกอยู่ เช่น หอม กระเทียม Corm เป็นลำต้นใต้ดินที่มีลักษณะคล้าย bulb แต่เห็นข้อและปล้องชัดเจนกว่า ตามข้อมี scale leaf หุ้มอยู่ ลำต้นทำหน้าที่สะสมอาหาร เช่น แห้ว เผือก เป็นต้น Tubers เป็นลำต้นใต้ดินที่ปลายขยายโป่งพอง ในหัว tuber จะมีกลุ่มเนื้อเยื่อนำน้ำและอาหารน้อย เป็นแหล่งสะสมอาหาร จึงประกอบด้วยเซลล์ parenchyma ที่มีอาหาร เช่น แป้งบรรจุอยู่ เช่น หัวมันฝรั่ง

Rhizome node Scale leaf bud http://medplant.mahidol.ac.th/

(The Royal Horticultural Society A-Z Encyclopedia of Garden Plants ; 1996)

เอกสารอ้างอิง 1. T. Weier, C.R. Stocking and M. G.Barbour, Botany An Introduction to Plant Biology 5th edition, John Wiley & Sons.New York, 1974, pp101-149 2. สมภพ ประธานธุรารักษ์ พร้อมจิต ศรลัมพ์ และธนุชา บุญจรัส, กายวิภาคและสัณฐานวิทยาของพืช, พิมพ์ครั้งที่ 2, บริษัท นิวไทยมิตรการพิมพ์(1996)จำกัด, กทม, 2543, หน้า 31-62 3. องอาจ พฤกษ์ประมูล, พฤกษศาสตร์, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล คณะเกษตรศาสตร์บางพระ, อยุธยา, 2535, หน้า 68-88 หมายเหตุ บริเวณที่ขีดเส้นใต้คือชื่อหนังสือ ผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย สำหรับรูปภาพประกอบในส่วนที่ไม่ได้อ้างอิงไว้