สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์บริบท : ความท้าทายของการบริหารการศึกษาในอนาคต
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การฟัง การฟัง  คือ  การรับรู้ความหมายจากเสียงที่ได้ยิน  เป็นการรับรู้สารทางหู  ในชีวิตประจำวันของ เรา  เราใช้เวลาในการฟัง ทั้งที่ฟังจากบุคคลโดยตรง 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
Tuesdays with Morrie & หลายชีวิต
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
มานุษยวิทยาศึกษาคืออะไร
ความหมายของวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
หลักการและแนวปฏิบัติ รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การวิจัยการศึกษา.
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
การเมืองการปกครองรัชกาลที่ 7
วัตถุประสงค์ของโครงการ
นิติปรัชญา อ.อิทธิพล ปรีติประสงค์ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๗
การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และผู้นำทางวิชาการ
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
ศิลปะการพูด (Rhetorical Speech)
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
แบบฝึกคิดวิเคราะห์จากภาพ
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
TLLM.
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
บทที่ 11.
การรับฟังพยานหลักฐาน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลางชล. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนา การทางประวัติศาสตร์ด้าน - การเมือง การปกครองโดย ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้ ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง.
ประวัติสุนทรภู่ ตระกูล วัยเยาว์ ออกบวช (ช่วงตกยาก) วิกิพีเดีย.
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
วิชาการวิจัยอย่างง่าย
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ข. ประเภทตำนาน-พงศาวดารท้องถิ่น
ครูจงกล กลางชล. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง 2 วิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับ ความเป็นมาของชนชาติไทย โดย วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
9 คำถามหลังเรียน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
พ่อขุนรามคำแหง จัดทำโดย นาย เจษฎากร ลิมปนุสรณ์ นาย เชิงชาย ตะโฉ
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง วิเคราะห์ เปรียบเทียบ เหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ไทย ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ใน ความต่อเนื่อง ของเวลาได้ 2.
หัวข้อการบรรยาย ENL 3701 Week #2
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
การอ่านผลงานวิจัย / เอกสารวิชาการ เพื่อการทำวรรณกรรม ปริทัศน์
สังคมศึกษา ศาสา และวัฒนธรรม จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
เศรษฐกิจพอเพียง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปย่อสำหรับประกอบการสอน สัปดาห์ที่ 2 การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ประโยชน์ของการศึกษา ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ภาพรวมการศึกษาค้นคว้า วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยที่ผ่านมา แนวความคิดแฝง ที่มีอยู่ในการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ ประโยชน์ของการศึกษา ประวัติการค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ รู้แนวความคิด วิธีคิด แนวทางการค้นคว้าของนักวิชาการแต่ละยุค/แต่ละบุคคล ทำให้เห็นพัฒนาการทางความรู้ตั้งแต่ต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รู้ถึงจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์ความรู้ ทำให้การค้นคว้าวิจัยของเรามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ภาพรวมการศึกษาค้นคว้า วิชาประวัติศาสตร์ศิลปะไทยที่ผ่านมา ก่อนรัชกาลที่ 4 ช่วงรัชกาลที่ 4-5 ช่วงรัชกาลที่ 6-7 สานุศิษย์ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ช่วงบุกเบิกคณะโบราณคดี ช่วงตั้งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ งานค้นคว้าในรอบสิบปีที่ผ่านมา การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น ก่อนรัชกาลที่ 4 การค้นคว้าวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในแบบที่รู้จักกันในปัจจุบันยังไม่เกิด แต่มีการกล่าวถึงศิลปะโบราณซึ่งปรากฏอยู่ในตำนาน พระราชพงศาวดาร จารึกหรือหลักฐานลายลักษณ์อักษรประเภทต่างๆ ช่วงรัชกาลที่ 4-5 มีการค้นคว้าที่เป็น กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ช่วงรัชกาลที่ 6-7 รัชกาลที่ 6 ค้นคว้าโดยอิงอยู่กับหลักฐานลายกลักษณ์อักษรเป็นหลัก เช่น พระราชนิพนธ์เรื่อง เที่ยวเมืองพระร่วง, ไม่ได้ให้ความสำคัญต่อการศึกษารูปแบบศิลปะ ทำให้ข้อสันนิษฐานหลายๆอย่างคลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง -สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีการศึกษาที่ผสมผสานระหว่างการค้นคว้าทางด้าน เอกสารกับรูปแบบศิลปะ, มีแนวความคิดมุมมองต่อศิลปะที่หลาก หลายมากขึ้น แนวความคิดหลายประการของท่านยังได้รับการ เชื่อถืออยู่จนถึงปัจจุบัน การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

-สมเด็จฯกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ค้นคว้าโดยใช้มุมมองของช่าง จึงเน้นหนักในการพิจารณาในเรื่องของฝีมือช่าง ไม่เน้นการค้นคว้าในแนวประวัติศาสตร์ สานุศิษย์ของสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ผสมผสานการค้นคว้าระหว่าง หลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ช่วงบุกเบิกคณะโบราณคดี - แนวทางของศ.ศิลป์ พีระศรี การค้นคว้าที่เน้นในแง่มุมของสุนทรียศาสตร์ ความงาม การวิจารณ์โดยสายตาศิลปิน แนวทางการค้นคว้าของ มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล ค้นคว้าโดยผสมผสานกันระหว่างหลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ, เป็นบุคคลที่วางรากฐานการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะโดยใช้ทฤษฎีวิวัฒนาการ - แนวทางการค้นคว้าของ น ณ. ปากน้ำ ค้นคว้าโดยผสมผสานกันระหว่างหลักฐานลายลักษณ์อักษรกับรูปแบบศิลปะ มีแง่มุมของสุนทรียศาสตร์ และเทคนิคทางเชิงช่าง การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

ช่วงตั้งภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ - แนวทางของสานุศิษย์ของ มจ.สุภัทรดิศ ดิศกุล เน้นการศึกษาทางด้านรูปแบบ โดยใช้ทฤษฎีวิวัฒนาการ เช่น ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม - แนวทางของ รศ. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ พยายามเสนอทฤษฎีใหม่ๆ เช่น การกำหนดอายุแบบใหม่ การจัดแบ่งยุคสมัยของศิลปะในประเทศไทย การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2

แนวความคิดแฝงที่มีอยู่ในการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะ ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับกลุ่มชน ความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับการเมือง อื่นๆ การศึกษาประวัติการค้นคว้าเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะในประเทศไทยโดยสังเขป สัปดาห์ที่ 2