POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
ลักษณะเป็นผลึก ไม่มีสี ละลายได้ดีในน้ำ
การรักษาสมดุลร่างกาย Homeostasis
วิชายาและการใช้ยาสัตว์ (Animal Drugs and Usage) รหัสวิชา
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
Tetracyclines คุณสมบัติทางเคมี เป็นกลุ่มยาที่มีพิษน้อยและใช้กันมาก
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การเสื่อมเสียของอาหาร
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
สิ่งที่ไม่ควรทำหลังการรับประทานอาหาร (7 ประการ)
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
มลพิษทางอากาศ โชคชัย บุตรครุธ.
การละลายของธารน้ำแข็งและภาวะน้ำท่วม
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
Evaluation of pesticides interaction Herbicide-herbicide interaction
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สุดยอดอาหารยืดชีวิตให้ยืนยาว
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
whey เวย์ : casein เคซีน
ทำไมต้องนมแม่ วาสนา งามการ.
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
วัตถุประสงค์การใช้สารเคมีควบคุมแมลงพาหะ
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
อ่านบ้างนะ มีประโยชน์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
Immunity against viral infection ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว.
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
อันตรายจากสารปรุงแต่งอาหาร
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซ
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
กำมะถัน (Sulfur).
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
สาเหตุของโรคอ้วนและการแก้ไขปัญหา
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

POISON สารใดๆก็ตามที่อยู่ในรูปของแข็ง หรือ ของเหลว หรือ แก๊ส เมื่อเข้าสู่ร่างกายของสัตว์แล้ว ไปขัดขวาง / ยับยั้ง การทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย โดยมีผลไป เปลี่ยนแปลง / กระทบ ต่อขบวนการต่างๆของร่างกาย

TOXICANT Toxicity : ปริมาณหรือขนาดของสารพิษที่สัตว์ได้รับเข้าไปแล้วทำให้สัตว์แสดงอาการป่วย  ตาย

Lethal DOSE (LD) : ขนาดของสารพิษที่ต่ำที่สุดที่ทำให้สัตว์ตาย ส่วนใหญ่ค่าของ LD มักจะกล่าวในรูปของ % เช่น LD50 หรือ LD100 หรือ LD1

Acute Toxicity การที่สัตว์แสดงอาการป่วยภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากได้รับสารพิษ Single Dose หรือ Multiple Dose

Chornic Toxicity : สัตว์ค่อยๆแสดงอาการป่วย ภายหลังจากที่ได้รับสารพิษขนาดไม่สูงนักแต่ได้รับเป็นเวลานาน

การเปลี่ยนแปลงของสารพิษในร่างกาย(Biotransformation) สารใดๆก็ตามที่สัตว์ได้รับเข้าไป(Xenobiotics)แล้วมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสารที่ออกฤทธิ์น้อยลง หรือเป็นอันตรายน้อยลงและขับถ่ายออกจากร่างกายรวดเร็วขึ้น

ขบวนการนี้เรียกว่า ____________ เปลี่ยน Metabolite ให้มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้นและ ละลายในไขมันได้น้อยลง 2. เปลี่ยน Metabolite ให้มีคุณสมบัติในการ ionize ให้สูงขึ้น หรือ 3. 1 + 2  มีการรวมตัวกับโปรตีนได้น้อยลง 4. ลดการดูดซึมกลับ ( Reabsorption ) ที่บริเวณไตและท่อไตน้อยลง ขบวนการนี้เรียกว่า ____________ “DETOXIFY”

Lethal Synthesis : สารถูกเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารพิษเพิ่มมากขึ้น หรือมีอันตรายต่อร่างกายมากขึ้น เช่น 1. การเปลี่ยน Fluoroaietate ในร่างกาย เป็น Fluorocitrate ซึ่งออกฤทธิ์ การทำงานขัดขวาง Tricarboxylic acid cyile 2. Oxidation ของ Parathion ได้ Paraoxon ซึ่งมีความเป็นพิษสูง 3. Oxidation ของ Ethylene glycol เป็น Oxalic  เป็นอันตรายต่อไต

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ชนิดสัตว์ แมว : ขาด glycuronyl transferase ทำให้เกิดเป็นพิษต่อ Phenol และ Bensoic ได้ง่าย 2. พันธุ์สัตว์ สุนัขพันธ์ดัลเมเชียน : ขาดเอ็นไซม์ Uricase ในการเปลี่ยนแปลงสาร Purine

อายุสัตว์ 2 mths เพศ สุขภาพ Body Temp. 7. การได้รับร่วมกับสารอื่นๆ

Treatment of Toxicoses 1. กำจัดสาเหตุของการเป็นพิษหรือที่มาของสารพิษ 2. ลดการดูดซึมของสารพิษ ส่วนที่ยังไม่ดูดซึม 3. ลดอันตรายของสารพิษส่วนที่ดูดซึมแล้ว / เพิ่มการขับถ่ายของสารพิษ

ล้างกระเพาะ ( Gastric lavage) ลดการดูดซึม ทำให้อาเจียน ( Emesis) ยาที่ออกฤทธิ์ต่อ “Chemoreceptor Trigger Zone” ล้างกระเพาะ ( Gastric lavage) Ruminant NO Emesis Gastric lavage YES ยาถ่าย ยาระบายพวกน้ำมัน

ให้สารบางชนิดเพื่อเปลี่ยนสารพิษ ไปเป็นสารใหม่ ที่ไม่ละลายน้ำ * Chelating agent ให้สารบางชนิดที่เปลี่ยน pH ในกระเพาะอาหาร ให้สารที่ไปรวมตัว ( adsorp ) กับสารพิษ * ผงถ่าน ( Activated Charcoal)

การลดอันตรายจากสารพิษที่ดูดซึม “Antidotal Therapy’ Antidote ตัวอย่างของ Antidote - Ascorbic ไนไตรท์ , อานิลีน , คูมาริน - EDTA ตะกั่ว - Magnesium oxide กรดชนิดต่างๆ หรือ Milk Magnesia