ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
User Defined Simple Data Type
C Programming Lecture no. 4 กราบเรียนท่านอาจารย์ และสวัสดีเพื่อนๆ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 Operator and Expression
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ภาษาปาสคาล บทนำ.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
PHP LANGUAGE.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Repetitive Statements (Looping)
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
SCC : Suthida Chaichomchuen
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
PROCEDURE <<โปรแกรมย่อย>>
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
ตัวดำเนินการ(Operator)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
Operators ตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
CHAPTER 2 Operators.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513 Pascal มาจาก Blaise Pascal นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส รากฐานจากภาษา Algol60 และ PL/1 เป็นภาษาแบบมีโครงสร้าง (Structured Programming)

โครงสร้างของภาษาปาสคาล PROGRAM ชื่อโปรแกรม; Heading VAR LABEL CONST TYPE Declarations PROCEDURE or FUNCTION BEGIN …. Statements END.

ตัวอย่างโปรแกรมภาษาปาสคาล PROGRAM example(input,output); { Calculate average of three numbers } CONST COUNT = 3; VAR input1, input2, input3 : integer; average : real; BEGIN readln(input1,input2,input3); average:=(input1,input2,input3)/count; writeln(‘The avarage is’,average:5:2); END. ส่วนหัว ส่วน ประกาศ ส่วนคำสั่ง

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาปาสคาล คำสั่ง Create/Edit Text File pico <filename>.pas Source Code Machine Code Compile By compiler gpc <filename>.pas [-o outputfile] คำสั่ง Execute (Run) a.out <outputfile> คำสั่ง หรือ

การตั้งชื่อ(Identifiers) 1. ประกอบด้วยตัวอักษรตั้งแต่ A ถึง Z หรือตัวเลขตั้งแต่ 0 ถึง 9 ที่ไม่มีสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ อยู่ 2. ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ (ห้ามเป็นตัวเลข) และตัวถัดไป อาจจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือเครื่องหมาย Underline ( _ ) ก็ได้ 3. ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็กจะถือว่าเหมือนกัน 4. ความยาวของชื่อตัวแปรยาวได้ไม่เกิน 255 ตัวอักขระ 5. ชื่อที่ตั้งนั้นจะต้องไม่เป็นคำสงวน (Reserve Word)

ชนิดของข้อมูล (Data Type) ข้อมูลชนิดธรรมดา (Simple-type data) ข้อมูลแบบมาตรฐาน (Standard Data Type) ข้อมูลที่ผู้ใช้กำหนดเอง (User-defined Data Type) ข้อมูลชนิดมีโครงสร้าง (Structured-type Data) ข้อมูลชนิดตัวชี้ (Pointer-type Data)

ข้อมูลแบบมาตรฐาน(Standard Data Type) 1. ข้อมูลแบบเลขจำนวนเต็ม (integer) เช่น 0 1 -1 -500 44 89 2. ข้อมูลแบบเลขจำนวนจริง (real) เช่น 12.1 0.5 22/7 3. ข้อมูลแบบอักขระ (char) เช่น ‘A’ ‘2’ ‘*’ 4. ข้อมูลแบบสตริง (string) เช่น ‘SILPAKORN’ ‘SC’ 5. ข้อมูลแบบตรรกศาสตร์ (boolean) เช่น จริง (true) เท็จ (false) ข้อแตกต่างระหว่าง ตัวเลขกับตัวอักขระ คือ การมีตัวอักขระจะมีเครื่องหมาย ‘’

CONST identifier = constant; ค่าคงที่ (Constants) รูปแบบ CONST identifier = constant; ตัวอย่าง CONST PI = 3.1415927; TAXRATE = 0.07; BLANK = ‘ ‘; MAX = True; CONTINUE = ‘Press enter to continue..’;

VAR identifier [, identifier, . . ] : Data Type; ตัวแปร (Variables) รูปแบบ VAR identifier [, identifier, . . ] : Data Type; ตัวอย่าง VAR radias, high : real; row, column : integer; name : string; choice : char; done : boolean;

ตัวดำเนินการ (Operators) ตัวดำเนินการคำนวณ จำนวนเต็ม : + , -, * , / , DIV, MOD จำนวนจริง : + , -, * , / ตัวดำเนินการสตริง : + ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ : =, <>, <, <=, >, >= ตัวดำเนินการบูลลีน : AND, OR, NOT

นิพจน์ (Expression) นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ นิพจน์ทางตรรกศาสตร์ กลุ่มของข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วย Operand ที่เป็นตัวแปร ค่าคงที่ 1 ตัวหรือมากกว่า ซึ่งเชื่อมกันด้วยสัญลักษณ์ทาง การคำนวณหรือเปรียบเทียบที่เรียกว่า Operator นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เช่น a+b/c*d นิพจน์ทางตรรกศาสตร์ เช่น row > MAX MAX and Done

ลำดับความสำคัญของตัวดำเนินการ 1. ถ้ามีวงเล็บจะต้องทำในวงเล็บก่อน 2. ในกรณีที่มีวงเล็บซ้อนกัน ให้ทำเครื่องหมายวงเล็บในสุดก่อน 3. จะทำการคำนวณตามลำดับเครื่องหมายดังนี้ +(เอกภาค) -(เอกภาค) NOT * / DIV MOD AND + - OR = <> < <= > >= สูงสุด ต่ำสุด

ตัวอย่าง 7 * 10 - 5 MOD 3 * 4 + 9 70 - 2 * 4 + 9 70 - 8 + 9 = 71

2 * ( ( 8 MOD 5 ) * ( 4 + ( 15 - 3 ) / sqr( -4 + 2 ) ) ) = ตัวอย่าง 8 6 7 5 1 4 3 2 42 2 * ( ( 8 MOD 5 ) * ( 4 + ( 15 - 3 ) / sqr( -4 + 2 ) ) ) = 8 MOD 5 = 3 5 MOD 6 = 5 8 DIV 5 = 1 5 DIV 6 =

คำสั่งพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม คำสั่งทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (arithmetic-logic statement) คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (input/output statement) คำสั่งเลือกทำงานตามเงื่อนไข (selection statement) คำสั่งทำงานซ้ำ (looping statement) คำสั่งเรียกให้โปรแกรมย่อยทำงาน (call subprogram)

คำสั่งการกำหนดค่า (Assignment Statement) คำสั่งทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (arithmetic-logic statement) คำสั่งการกำหนดค่า (Assignment Statement) คือ การกำหนดค่าให้กับตัวแปรโดยการใช้เครื่องหมาย := รูปแบบ identifier := constant; identifier := Expression; ตัวอย่าง Price:=100; tax:=0.07*price;

คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล (input/output statement) เป็นคำสั่งการแสดงผลลัพธ์หรือข้อมูลออกทางจอภาพ ได้แก่ คำสั่ง Write , Writeln สำหรับการแสดงผลนั้นแสดงได้ 2 อย่าง คือ 1. แสดงค่าของ ค่าคงที่ ตัวแปรหรือนิพจน์ 2. แสดงอักขระ(char)หรือกลุ่มข้อความ(string) รูปแบบ write(parameter[:length:decimal],...); writeln(parameter[:length:decimal],...); writeln;

ประโยคคำสั่งปฏิบัติการ (Executable Statements) ข้อแตกต่างระหว่างคำสั่ง write และ writeln คำสั่ง writeln จะทำให้มีการขึ้นบรรทัดใหม่หลังจากที่มีการแสดงผลแล้ว num1 num2 ตัวอย่าง num1:=10; num2:=20; writeln(‘Num1 =‘, num1); writeln(‘Num2 =‘, num2); 10 20 10 20 num1:=10; Write(num1:10:2); Num1 = 10 Num2 = 20 10.00

10 num1 20 num2 30 sum Num1+num2=sum 10 + 20 = 30 ประโยคคำสั่งปฏิบัติการ (Executable Statements) ข้อแตกต่างระหว่างคำสั่ง write และ writeln 10 num1 20 num2 30 sum ตัวอย่าง num1:=10;num2:=20; sum:=num1+num2; Write(num1,’ + ‘,num2,’ = ‘,sum); 10 + 20 = 30 Num1+num2=sum 10 + 20 = 30

งานที่มอบหมายครั้งที่ 1 โครงสร้างของภาษาปาสคาลและคำสั่งรับ-แสดงผลข้อมูล ให้เขียนโปรแกรมกำหนด ค่าเลขจำนวนเต็มจำนวน 2 ค่า ทำการหา ผลบวก(Summary) ผลลบ(Different) ผลคูณ(Multiply) ผลหาร(Devide) ผลหารเอาส่วน (DIV) ผลหารเอาเศษ (MOD) โดยให้มีการแสดงผลดังนี้

ประโยคคำสั่งปฏิบัติการ (Executable Statements) คำสั่งการรับค่าข้อมูลเข้า (Input Statement) เป็นคำสั่งการรับข้อมูลจากอุปกรณ์นำข้อมูลเข้า (keyboard) นำไป เก็บไว้ในตัวแปรที่กำหนดให้ ได้แก่ คำสั่ง Read , Readln รูปแบบ read(identifier_1[,identifier_2,…,identifier_n]); readln(identifier_1[,identifier_2,…,identifier_n]); ตัวอย่าง Read(number); Read(a,b,c); Readln(text); Readln(x,y,z);

ประโยคคำสั่งปฏิบัติการ (Executable Statements) ข้อแตกต่างระหว่างคำสั่ง read และ readln คำสั่ง readln จะมีผลให้การใช้คำสั่ง read หรือ readln ในคำสั่ง ถัดไปต้องอ่านข้อมูลจากบรรทัดใหม่(รับค่าแล้วทำการขึ้นบรรทัดใหม่) ตัวอย่าง Read(number); Read(a,b,c); Readln(text); Readln(x,y,z);

งานที่มอบหมายครั้งที่ 2 โครงสร้างของภาษาปาสคาลและคำสั่งรับ-แสดงผลข้อมูล ให้เขียนโปรแกรมรับค่าของอุณหภูมีในหน่วยองศาเซลเซียส แล้วแปลงให้เป็นอุณหภูมิในหน่วยองศาฟาเรนไฮน์ โดยแสดงผลดังนี้