Inverse Laplace Transforms

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Hashing Function มีหลายฟังก์ชั่น การเลือกใช้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล ตัวอย่างของฟังก์ชั่นแฮชมีดังนี้ 1. Mod คือการนำค่าคีย์มา mod ด้วยค่า n ใด.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Data Structures and Algorithms
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อสมการ.
ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ให้นักศึกษาลองดู Example 8.10 และ 8.11 ประกอบ
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
Repetitive Instruction
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา
Chapter 3 Graphics Output primitives Part II
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
INC341 State space representation & First-order System
INC341 Block Reduction & Stability
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.1 Real Numbers and Their Properties
Polynomial and Rational functions
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
แบบประเมินก่อนเรียน แบบประเมินก่อนเรียน Part 12.
เศษส่วน.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต
การเขียนผังงาน.
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วงรี ( Ellipse).
หลักการแก้ปัญหา
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database) Choopan Rattanapoka.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
การคูณและการหารเอกนาม
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
อุทธรณ์,ฎีกา.
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Inverse Laplace Transforms

Rational Functions Function ที่เราต้องการจะหา inverse Laplace transform มักจะอยู่ในรูป ฟังก์ชันเศษส่วน (rational function) โดยมีตัวเศษ (numerator: N(s) ) และตัวหาร (denominator: D(s)) ซึ่งอาจจะเขียนได้ว่า Rational function นี้จะแบ่งออกเป็น Proper rational function ถ้ากำลังของ s ที่ตัวเศษมีค่าน้อยกว่า กำลังของ s ที่ตัวหาร ซึ่งสามารถทำการ inverse Laplace transform ได้ต่อไป Improper rational function ถ้ากำลังของ s ที่ตัวเศษมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับกำลังของ s ที่ตัวหาร เราจะต้องทำการตั้งหารยาวตัวเศษ เพื่อทำให้เป็น proper rational function เสียก่อน Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Proper Rational Functions เมื่ออยู่ในรูป proper rational function เราจะสามารถหา inverse Laplace transform ได้ โดยรูปแบบที่จะหาได้นั้น จะขึ้นอยู่กับตัวหาร D(s) เป็นสำคัญ ซึ่งแบ่งออกเป็นรูปแบบต่างๆ 3 แบบ ดังนี้ Simple poles ถ้าเราสามารถเขียน D(s) ได้ว่า Complex Poles ถ้าเราสามารถเขียน D(s) ได้ว่า Repeated poles เกิดจากการที่ simples หรือ complex poles ที่ซ้ำกัน เช่น Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Simples Poles จาก จะได้ว่า โดย ให้นักศึกษาดู Method 1 จาก Example 15.9 หน้า 693 หรือวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ ดู Method 2 จาก Example 15.9 หน้า 694 ประกอบ Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Complex Poles จาก จะได้ว่า การหาค่า k1 นั้นจะทำเช่นเดียวกับกรณี simple pole ส่วนการหาค่า B และ C นั้นทำได้หลายวิธี เช่นวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ (ดู Method 2 จาก Example 15.11 หน้า 696) หรือแทนค่า s ด้วยค่าง่ายๆ เช่น 0 และ 1 แล้วแก้สมการเพื่อหาค่า B และ C (ดู Method 1 จาก Example 15.11 หน้า 696) Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Repeated Poles ทั้ง simples poles และ complex poles สามารถที่จะเป็น repeated poles ได้ แต่ส่วนใหญ่เราจะสนใจที่เป็น simple poles ที่ซ้ำกันเท่านั้น จาก จะได้ว่า การหาค่า k2, k3, .. , kn นั้นจะกระทำในลักษณะเดียวกันกับ simple poles Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Repeated Poles (ต่อ) การหาค่า A และ B นั้นหาได้จาก (ดู Method 1 จาก Example 15.10 หน้า 695) หรือจะโดยวิธีเทียบสัมประสิทธิ์ (ดู method 2 จาก Example 15.10 หน้า 695) Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Long Division การตั้งหารยาว เป็นวิธีที่ใช้ทำการเปลี่ยน improper rational function ให้เป็น proper rational function การตั้งหารจะกระทำ โดยอาศัยหลักการหาร polynomial ธรรมดา เช่น ซึ่งเป็น improper rational function หลังจากทำการหารยาวแล้วจะได้ Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา

Long Division (ต่อ)  Quotient หารจนส่วนนี้มี order น้อยกว่าตัวหาร ซึ่งจะหารต่อไม่ได้ ส่วนนี้คือ Remainder Page End ดร. รังสรรค์ ทองทา