การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดาวนภา สุยะนนท์ รุจิรดา ระวีศรี แสงเดือน คำมีสว่าง
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ของอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ของอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง
เครื่องมือการวิจัยและสถิติ แบบสอบถาม สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน
ฐานข้อมูลออนไลน์ 17 ฐาน แบ่งเป็นประเภท ฐานข้อมูลจาก สกอ. จำนวน 10 ฐานข้อมูล มฟล. จัดซื้อ จำนวน 7 ฐานข้อมูล ABI/INFORM ACM Digital Library Academic Search Premier Annual Reviews CINAHL Plus with Full Text Education Research Complete Environment Complete
ฐานข้อมูลออนไลน์ 17 ฐาน (ต่อ) 8. H.W. Wilson 9. IEEE/IEL 10. ISI Web of Science 11. Matichon E-Library 12. NetLibrary 13. Nursing Resources Center 14. ProQuest Digital Dissertation :A&I 15.ScienceDirect 16.SpringerLink 17. Dissertation & Theses Full Text
จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 356 ตัวอย่าง จำแนกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
การรับทราบการให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ (ภาพรวม) การรับทราบการให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ (ภาพรวม) ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
การรับทราบการให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) 1)เว็บไซต์ 2)การประชาสัมพันธ์ 1)เว็บไซต์ + เพื่อน 2)อาจารย์ผู้สอน 1)เพื่อน 2)เว็บไซต์ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
การเรียนรู้การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
การเรียนรู้การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) 1)เรียนรู้ด้วยตนเอง 2)เอกสารแนะลำ 1)เพื่อน 2)เอกสารแนะนำ 1)เรียนรู้ด้วยตนเอง 2)เพื่อน
วัตถุประสงค์การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ภาพรวม) ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
วัตถุประสงค์การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) วัตถุประสงค์การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) 1)ทำวิจัย 2)เตรียมการสอน 1)ทำวิทยานิพนธ์/IS 2)ทำรายงานประกอบ การศึกษา 1)ทำรายงานประกอบ การศึกษา 2)ทำวิทยานิพนธ์/IS
ความถี่ในการเข้าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ภาพรวม)
ความถี่ในการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) ความถี่ในการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ตามกลุ่มตัวอย่าง) 1)1-2 ครั้ง/สัปดาห์ 2)ทุกวัน 1)1-2 ครั้ง/เดือน 2)1-2 ครั้ง/สัปดาห์ 1)1-2 ครั้ง/สัปดาห์ 2)1-2 ครั้ง/เดือน
จำนวนร้อยละผู้เคยใช้และไม่เคยใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ (ภาพรวม)
เหตุผลที่เคยใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
เหตุผลที่ไม่เคยใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
ฐานข้อมูลที่เคยใช้มากที่สุด 3 ลำดับ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
ฐานข้อมูลที่เคยใช้น้อยที่สุด 3 ลำดับ ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ
ฐานข้อมูลที่เคยใช้มากที่สุดจาก แยกตามกลุ่มสำนักวิชา ฐานข้อมูลที่เคยใช้มากที่สุดจาก แยกตามกลุ่มสำนักวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ Academic Search Premier (69.38) ACM Digital Library (23.83) ScienceDirect (35.92) ABI/Infrom (66.90) (23.13) Dissertation & Theses Full Text (27.87) Education Research Complete (65.71) IEEE/IEL (29.89) SpringerLink (21.70)
ปัญหาการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ ด้านผู้ใช้บริการ ความสามารถในการสืบค้นข้อมูล ทักษะ ความรู้ เวลา ข้อจำกัดด้านภาษาอังกฤษ ด้านผู้ให้บริการ มีบรรณารักษ์พร้อมบริการ ให้คำแนะนำถูกต้อง มีความรู้ เอาใจใส่ต่อการให้บริการ ด้านฐานข้อมูล มีจำนวนเพียงพอ ตรงความต้องการ ความยากของ วิธีค้น ไม่มี Full Text ด้านระบบเครือข่ายและเครื่องคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการดาวน์โหลดเอกสาร ประสิทธิภาพเครื่องคอมฯบริการ จำนวน การเข้าสืบค้นจากภายนอก การขัดข้องของระบบเครือข่าย
ระดับปัญหาการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์แต่ละด้าน
ปัญหาด้านฐานข้อมูลออนไลน์ ค่าเฉลี่ย / ระดับความพึงพอใจ X SD แปลความ ฐานข้อมูลมีเนื้อหาฉบับเต็มไม่ครบทุกรายการตามที่ต้องการ 3.41 0.84 ปานกลาง ฐานข้อมูลที่มีให้บริการมีจำนวนเพียงพอ 3.28 0.92 ฐานข้อมูลที่ให้บริการตรงกับความต้องการ 0.91 ฐานข้อมูลแต่ละฐานมีความยุ่งยากในวิธีการสืบค้น 3.23
จำแนกตามประเด็นข้อปัญหา
การนำผลการวิจัยไปพัฒนางาน ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ และการประชาสัมพันธ์ การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1. จัดนิทรรศการ e-Resources 2. จัดทำคู่มือและ PowerPoint แนะนำฐานข้อมูลใหม่ 3. เตรียมความพร้อมบรรณารักษ์เฉพาะฐานข้อมูล 4. กำหนดแผนการอบรมให้ครอบทุกสำนักวิชา 5. จัดทำโครงการ “บรรณารักษ์พบอาจารย์” ทุกภาคการศึกษา
ถาม-ตอบ