การประเมินภาวะสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

Acute Diarrhea.
การดูแลระยะตั้งครรภ์
การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
สุขภาพดีซื้อขายได้ที่ไหน ?
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
สอนให้ศิษย์ เก่ง ดี มีสุข รศ.นพ.สุชาติ อารีมิตร.
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
RADIOLOGY DEPARTMENT กลุ่มงานรังสีวิทยา.
ฝึกปฏิบัติการให้การบำบัดแบบสั้น
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
Thailand Research Expo
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
Ovarian tumor, morbid obesity
สรุปผลหลังการฝึกทักษะประกอบรายวิชา สถานีอนามัยบ้านหนองปลาน้อย ตำบลเหล่าปอแดง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร นักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน ปีที่ 3.
Management of Pulmonary Tuberculosis
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
Tuberculosis วัณโรค.
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
เรื่อง หลักการปฏิบัติตนในการใช้บริการ ทางการแพทย์และสาธารณสุข
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น อาการ, อารมณ์ ( ปัญหาต่าง ๆ ) และพฤติกรรม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ( ปัญหา ) ไม่ได้เป็น สาเหตุของการเกิดอารมณ์ และพฤติกรรมโดยตรง แต่เกิดจาก.
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
การนวดไทยแบบราชสำนัก
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
สาระสำคัญ การป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เป็นความรับผิดชอบของทั้งผู้หญิงและชาย การเรียนรู้เรื่องการป้องกันมีทั้งแง่ดีและแง่ไม่ดี
ระบบเทคโนโลยี.
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
แนวทางการเฝ้าระวัง (Chikungunya fever) ในสถาบันการศึกษาสังกัดสถาบัน พระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข กลุ่มวิจัยและพัฒนานักระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค.
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กุมภาพันธ์ 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินภาวะสุขภาพ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

การซักประวัติการเจ็บป่วย ดร.ณัฐฐิตา เพชรประไพ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

การซักประวัติการเจ็บป่วย วัตถุประสงค์ 1. บอกเทคนิคการซักประวัติได้ 2. บอกขั้นตอนการซักประวัติได้ 3. บอกรายละเอียดในการซักประวัติแต่ละขั้นตอนได้ 4. รวบรวมข้อมูลที่จำเป็นจากการซักประวัติเพื่อนำมาใช้ในการวินิจฉัยโรคได้

การซักประวัติการเจ็บป่วย ศาสตร์ - เรียนรู้จากตำรา ฯลฯ ศิลป์ - จิตใจที่แสดงออกทางคำพูด การกระทำ

ศิลป์ ทำตนเองให้สบายใจก่อน 1. ระงับอารมณ์ - อารมณ์ค้างจากบ้าน , ท่าทาง คำพูดผู้ป่วย 2. สร้างอารมณ์ขันจากท่าทางคำพูดผู้ป่วย แต่ไม่ใช่ให้ผู้ป่วยมีอารมณ์ขันร่วมกับเรา 3. แผ่เมตตา

ทำให้ผู้ป่วยสบายใจ พอใจ 1. สุภาพ นิ่มนวล พยายามให้เขาทราบล่วงหน้าว่าจะตรวจอะไร 2. เต็มใจ เห็นอก เห็นใจ เป็นกันเอง

หัวข้อในการซักประวัติ 1. รายละเอียดทั่วไป (Introductory data) 2. อาการสำคัญ (Chief complaint) 3. ประวัติปัจจุบัน (Present illness) 4. ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history) 5. ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history) 6. ประวัติส่วนตัว (Personal history) 7. การทบทวนอาการตามระบบอวัยวะ (Review of system)

1. รายละเอียดทั่วไป ได้แก่ 1. รายละเอียดทั่วไป ได้แก่ - เพศ - อายุ - เชื้อชาติ - ศาสนา อาชีพ - การศึกษา ฯลฯ

ตัวอย่าง รายละเอียดทั่วไปที่ช่วยในการวินิจฉัยโรค โรคปวดข้อที่พบในเพศชายมากกว่า เพศหญิง อัตรา 10 : 1 น่าจะนึกถึงโรค “ Gouty arthritis ”

อาการหลักเพียงอาการเดียว ระยะเวลาอาการที่เป็น 2. อาการสำคัญ (Chief Complaint) C.C อาการหลักเพียงอาการเดียว + ระยะเวลาอาการที่เป็น - เป็นไข้มา 3 วัน - ปวดเข่ามาเกือบ 3 เดือน

ตัวอย่าง อาการหลักที่ช่วยในการวินิจฉัยโรค > 7 วัน ให้นึกถึง “Enteric fever” ไข้ “Influenza.” < 7 วัน ให้นึกถึง “U.R.I.” “Common cold.” “Pharyngitis” “Tonsilitis”

อาการ & เหตุการณ์ต่าง ๆ ตอนเริ่มต้น การเจ็บป่วยจนถึงขณะสัมภาษณ์ 3. ประวัติปัจจุบัน (Present Illness) P.I. อาการ & เหตุการณ์ต่าง ๆ ตอนเริ่มต้น การเจ็บป่วยจนถึงขณะสัมภาษณ์

P.I. ประกอบด้วย : 3.1 เป็นมานานเท่าไร ไข้เป็นแรมเดือน - Tuberculosis - C.A. - S.L.E. - Abscess - G-6 P.D. Deficiency etc.

ปวดศีรษะเป็นแรมเดือน - C.A. brain - Brain tumor - Chronic open angle Glaucoma

ปวดท้อง ติดต่อกันเกิน 6 ช.ม. (Acute abdomen) P.U. perferate Appendicitis Ectopic pregnancy Peritonitis ...

3.2 วิธีการที่เกิด (On set) ทันทีทันใด (Acute) ไข้สูงทันที บอกเวลาเริ่มมีไข้ได้ Common cold Influenza Haemorrhagic fever Measle …

ปวดท้องทันที P.U. Perforate Rupture ectopic prenancy Food poisoning Ureteric calculi etc.

3.3 ลักษณะอาการ (characteristic) ปวดบิด ๆ Diarrhea U.C. etc. ปวดเสียด Pencreatitis Liver abscess Appendicitis Peritonitis etc. ปวดหนัก ๆ มึน ๆ Tension headache Hypertension etc.

3.4 ตำแหน่งและการปวดร้าว (Location & refer or radiation) ท้ายทอย Hypertension Tension headache ปวดศีรษะข้างเดียว Migraine Glaucoma

Myocardial infarction ชายโครงขวา Liver abscess C.A.liver ปวดใต้ลิ้นปี่ Peptic ulcer Pancreatitis Myocardial infarction ชายโครงขวา Liver abscess C.A.liver ปวดหลัง Peptic ulcer Pancreatitis Pyelonephritis ท้องน้อยด้านขวา Appendictitis Salpingitis U.C.

3.5 ความรุนแรง (Severity) - พอทนได้ - พักไม่ได้ etc.

3.6 จังหวะการเป็น (Rhythm) - ปวดติดต่อกัน ปวดมากเวลาขยับ Peritonitis - พัก ๆ Bowel obstruction U.C.

3.7 เวลาที่เป็นมาก (Related time) ปวดศีรษะตอนเช้า - Hypertension - Sinusitis บ่าย - Sinusitis - Tension headache ดึก - C.A. brain

ปวดท้อง ก่อน & หลังอาหาร - Peptic Ulcer ปวดท้อง หลังอาหารมัน - Gall stone

3.8 อาการร่วม (rotation of symptom) ไข้ + ปวดศีรษะ คอแข็ง - Menigitis ไอ หอบ - Pneumonia ไข้ + อาการหนาวสั่น (Shaking chill) - Malaria - Biliary infection - Pyelonephitis - (early) Pneumonia

หนาวสะท้าน หนาว ๆ ร้อน ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว (chill) - Influenza - Typhoid - Liver abscess ปวดศีรษะ + ตาพร่ามัว คลื่นไส้ - Migraine - Hypertension - Glaucoma

ปวดท้อง + ไข้ต่ำ ๆ คลื่นไส้ Appendicitis ไข้หนาวสั่น Pyelonephritis Biliary infection คอแข็ง - Meningitis - Tetanus - Rabies อาเจียน Bowel obstruction

ปัสสาวะขุ่น Pyelonephritis ตกขาว P.I.D. ท้องแข็ง Peritonitis Ectopic pregnancy etc.

3.9 ทำอย่างไร อาการดีขึ้น หรือเลวลง รักษาแล้วดีขึ้นไหม ? พักแล้วดีขึ้นไหม ? ปวดศีรษะ นอนหลับแล้วดีขึ้น Tension headache

กินยาแก้ปวดแล้วก็ยังไม่ดีขึ้น - Glaucoma - Hypertension - Migraine

- เคยผ่าตัดอะไรมาก่อนไหม เมื่อไร 4. ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต (Past History) - เคยเจ็บป่วยอะไรมาก่อน อาการอย่างไร การรักษาเป็นอย่างไร - เคยผ่าตัดอะไรมาก่อนไหม เมื่อไร - เคยเป็นโรคภูมิแพ้ แพ้ยา - เคยเป็นโรคเลือดไหม etc.

5. ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว - โรคทางกรรมพันธุ์ - โรคติดเชื้อ

แผนผังลำดับญาติ พี่ น้อง Ped tree : Genetic tree 62 ปี 70 ปี 60 ปี 64 ปี 40 ปี 38 ปี 1 ปี 6 ปี 8 ปี 11 ปี

Female Male Deceased female Deceased male

6. ประวัติส่วนตัว (Personal History) - นิสัย - การสูบบุหรี่ - การดื่มสุรา - การนอนหลับ - การปฏิบัติตัว etc.

7. การทบทวนอาการตามระบบอวัยวะ (Reviews of System)

Thank you for yor attention