La Voix Passive
Active หมายถึงประธานเป็นผู้ทำกริยานั้นเอง ซึ่งในประโยคมีประธาน , กริยา , กรรม เช่น Je regarde la lune. ฉันมองดูพระจันทร์. Pierre mange du pain. ปิแอร์กินขนมปัง. Passive หมายถึงประธานของประโยคกลับมาเป็นผู้ถูกกระทำ หลักเกณฑ์การเปลี่ยนจาก active เป็น passive มีดังนี้
2. ให้เปลี่ยนจากประธานมาเป็นกรรมและเปลี่ยนกรรมไปเป็นประธาน 1. ต้องทำจากกริยาที่มีกรรมตรงเท่านั้น จะเป็นกรรมรองไม่ได้ 2. ให้เปลี่ยนจากประธานมาเป็นกรรมและเปลี่ยนกรรมไปเป็นประธาน 3. ผู้ทำกริยาต้องอยู่หลังคำว่า par แต่กริยาบางคนใช้บุพบท de แทน par เช่น accompagner , aimer , connaître , couvrir , entourner , suiver 4. นำ verbe être มาใช้เป็นกริยาช่วยโดยนำมาผันให้เป็นเท้นส์เดียวกับประโยค Active ที่ให้มา
5. เมื่อเปลี่ยนประโยคเป็น passive แล้วอย่าลืม accord (ผัน) ตามประธานที่กริยาแท้ด้วย 6. การเปลี่ยนประธานจาก active เป็น passive เมื่อมาอยู่หลัง par ให้เปลี่ยนดังนี้ จาก Je เป็น moi , Tu เป็น toi , Il เป็น lui , Elle เป็น elle , Nous เป็น nous , Vous เป็น vous , Ils เป็น eux , Elles เป็น elles ถ้าหากไม่เจาะจงใคร เช่น Quelqu ‘ un (บางคน) หรือ On (เค้า) สามารถตัดทิ้งไปได้เลย
การเปลี่ยน temps ใน présent ทำดังนี้ ให้กริยา être ใน temps présent มาเป็นกริยาช่วย และกริยาเดิมที่ให้มาใน active มาเป็น participe passé เช่น Eric lit ce journal. = Ce Journal est lui par Eric. เอริคอ่านหนังสือพิมพ์ หนังสือพิมพ์นี้ถูก อ่านโดยเอริค
การสังเกต temps ใน passive นั้นจะดูที่กริยา être เท่านั้นจะดูที่ participe passé ไม่ได้เพราะทุกประโยคจะมี participe passé เหมือนกันหมด 1.ดังนั้นโครงสร้างของ passive ใน présent คือ ใช้กริยา être ใน présent + participe passé ดังนั้น Les Dupont achètent une maison. = Une maison est acheteé par eux. ครอบครัวดูปงซื้อบ้านหนึ่งหลัง บ้านหนึ่งหลังถูกซื้อโดยครอบครัวดูปง 2.ส่วนโครงสร้างของ passive ใน passé composé ให้นำกริยา avoir ใน présent + été มาเป็นกริยาช่วย และ + participe passé โครงสร้าง passé composé คือ ใช้ avoir ใน présent + été + participe passé
ตัวอย่าง Brigitte a pris le train. = Le tain a été pris par elle. บริจิตต์โดยสารรถไฟ รถไฟถูกโดยสารโดยหล่อน ( accord e ที่กริยาแท้คือ lu เพราะ la revue เป็นเพศหญิง ) ส่วนโครงสร้างของ futur simple ให้นำกริยา être ใน futur simple ( Je serai , Tu seras , Il / Elle sera , Nous serons , Vous serez , Ils / Elles seront ) มาเป็นกริยาช่วยและทำกริยาเดิมให้เป็น participe passé โครงสร้างใช้ être ใน futur + participe passé
ตัวอย่าง La professeur inviterra les étèves à dÎner demain ตัวอย่าง La professeur inviterra les étèves à dÎner demain. อาจารย์จะชวนพวกนักเรียนมาทานอาหารเย็นพรุ่งนี้ = Les étèves seront invités par le professeur demain. พวกนักเรียนจะถูกเชิญมาทานอาหารเย็นโดยอาจารย์พรุ่งนี้ Mes amis m’ enverront bientôt les photos. เพื่อนๆของฉันจะส่งรูปมาให้ฉันเร็วๆนี้ = Les photos me seront envoyés bientôt par eux. รูปจะถูกส่งมาเร็วๆนี้โดยพวกเขา ( จะใช้ per eux หรือจะไม่เปลี่ยน โดยใช้ par mes amis ก็ได้ )
โครงสร้างใช้ กริยา être ใน l’ imparfait + participe passé 3. ในกรณีเป็น l’ imparfait ให้ใช้กริยาเป็น être ใน l’ imparfait ( J’ étais, Tu étais, Il / Elle était ) มาเป็นกริยาช่วยและทำกริยาเดิมให้เป็น participe passé โครงสร้างใช้ กริยา être ใน l’ imparfait + participe passé Les gens buvaient le café = Le café était bu par eux. ผู้คนได้ดื่มกาแฟ กาแฟถูกดื่มโดยพวกเขา
** กรณีที่เป็นเท้นส์อื่นก็ทำเป็น passive โดยนำกริยา être มาเป็นกริยาช่วยโดยทำเป็นเท้นส์เดียวกับกริยาเดิมที่ให้มาใน active และทำกริยานั้นเป็น participe passé เช่น Je vais fermer la porte. = La porte va être fermée par moi.
จะเห็นได้ว่ากรณีนี้เป็น futur proche ( aller + infinitif ) มีกริยา 2 ตัว ในประโยคกริยาแท้ในที่นี้คือ fermer เราจึงนำกริยา être มาทำให้เป็นเท้นส์เดียวกันกับ fermer ซึ่งเป็น infinitif ( กริยายังไม่กระจาย ) จึงใช้ être ไม่ต้องกระจายและทำ fermer ให้เป็น participe passé ด้วยคือ fermé และaccord e เพราะ la porte เป็นเพศหญิง ตัวอย่าง Jacques avait déjà fini les devoirs. = Les devoirs avaient déjà été finis par lui.
ในกรณีนี้ plus que parfait ( avoir ใน l’ imparfait + participe passé ) เมื่อเป็น passive ใช้ avoir ใน l’ imparfait + été + participe passé (สรุปง่าย ๆ คือ เอากริยา être คือ été ) มาเป็นกริยาช่วยเพราะ fini เป็นรูป participe passé จึงต้องทำ être ให้เป็น participe passé ด้วยคือ été และ fini เป็น participe passé อยู่แล้วจึงไม่ต้องไปเปลี่ยนรูปอีก เพียงแต่ accord s เท่านั้นเพราะ les devoirs เป็นเพศชาย เอกพจน์ จะสังเกตจาก passive ว่าเป็นเท้นส์อะไร ก็ดูแต่ avaient déjà été เท่านั้น ( ซึ่งเป็น plus que parfait )
ส่วนประโยคคำถามนั้นจะใช้โครงสร้างเหมือนกับ ประโยคบอกเล่าทุกอย่าง เช่น Est – ce que tu as acheté du poiver hier ? เธอได้ซื้อพริกไทยเมื่อวานนี้ใช่มั้ย ? Est – ce que du poivre a été acheté par toi hier ? พริกไทยได้ถูกซื้อโดยเธอเมื่อวานนี้ใช่มั้ย ?
แต่กรณีในประโยคคำถามที่ทำ inversion คือ การกลับ ตำแหน่งของประธานกริยา เมื่อเป็น passive ก็ต้องคงการกลับ ตำแหน่งของกริยาไว้เหมือนเดิม เช่น A –t –il lu les journaux ? เขาได้อ่านหนังสือพิมพ์หลายฉบับแล้วใช่ ไหม ? Les journaux ont – ils été lus par lui ? หนังสือพิมพ์หลาย ฉบับถูกอ่านโดยเขาแล้วใช่ไหม ? ประธานเป็น On , Quelqu’ un ใน active เมื่อเป็น passive ตัดทิ้งไปได้เลย ( ตามกฎข้อ 6 ) เช่น On trove la monnaie. เขาพบเงิน( เศษตังค์ ) = La momaie est trovée. เงินถูกพบ ( ไม่ต้องเติม par on เพราะ “เค้า” ไม่ได้เจาะจงว่าใคร )
หรือ Queiqu’ un vole ma gomme หรือ Queiqu’ un vole ma gomme. มีคนบางคนขโมยยางลบของฉัน = Ma gomme est volée. เติม e ที่ volé เพราะยางลบเป็นเพศหญิงเอกพจน์ กรณีที่ เมื่อเป็น passive แล้วจะไม่ใช้ par แต่เป็น de แทน ตามกฎข้อที่ 3 เช่น Les herbes couvrent le jardin. ต้นหญ้าปกคลุมสวนหย่อม = Le jardin est couvert d ‘ herbes. สวนหย่อมถูกปกคลุมด้วยหญ้า
ภาพยนต์ถูกดูโดย Jean Jean ดูภาพยนต์ ส่วนการทำเป็น active ก็เปลี่ยนกลับจากกรรมมาเป็น ประธานและถอดกริยา être ที่เป็นกริยาช่วยทิ้งไป เช่น Le film est vu par Jean. = Jean voit le film. ภาพยนต์ถูกดูโดย Jean Jean ดูภาพยนต์ กรณีนี้กริยาช่วย être เป็น présent เมื่อทำเป็น active จึงทำกริยา voir ให้กลับมาเป็น présent ตามกริยา être ที่บ่งบอกเท้นส์