รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
Advertisements

ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
Nursing Resources Center
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 08/04/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
ทรัพยากรสารสนเทศ.
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
ขั้นตอนการดำเนินงาน ฐานข้อมูล TCI
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
สอบรายวิชา การใช้ทรัพยากรห้องสมุด
Online Public Access Catalog
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 04/01/54 การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงสร้างของการเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนรายงานการวิจัย
การเขียนขยายเค้าโครงเอกสารแต่ละบท ให้มีเนื้อหาสมบูรณ์
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
รหัสวิชา SOHU 0022 Using Information Systems
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy ครั้งที่ 10 หนังสืออ้างอิง
จดหมายเหตุมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
1. เข้าเว็บ scopus ( ตาม web address ของแต่ละมหาวิทยาลัยที่บอกรับเป็นสมาชิก )
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
Management Information Systems
คู่มือการใช้ฐานข้อมูล American Chemical Society (ACS) จัดทำโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ปรับปรุงครั้งล่าสุด 5 มีนาคม 2551.
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
การให้บริการยืม-คืนหนังสือ
สื่อประกอบการเรียนการสอน การจัดเรียงหนังสือบนชั้น
งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ภาษาไทย
บทนิพนธ์ 1. รายงาน (Report) 2. ภาคนิพนธ์ (Term Paper)
OPAC (Online Public Access Catalog)
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สืบค้นงานวิจัยชิ้นที่ 2
เอกสารประกอบการสอน การรวบรวมใบความรู้เป็นรูปเล่ม
สื่อการสอน : การทำรายการ 1 (2) รองศาสตราจารย์ปัญญา สุขแสน
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
การสืบค้นสารนิเทศInformation Retrieval
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การลงรายการทรัพยากรห้องสมุด
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
การสืบค้นทรัพยากรห้องสมุด (OPAC: Online Public Access Catalog)
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 21/04/54 โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
สื่อประกอบการเรียนการสอน วิชา ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง
ค้นเจอหนังสือที่ต้องการ ใน library catalog
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
รูปแบบรายงาน.
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
รูปแบบรายงาน ผศ.ธนู บุญญานุวัตร
บทที่ 4 งานเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการสัมมนา
การเขียนรายงาน.
ScienceDirec t จัดทำโดย ปทุมทิพย์ ลิ้มพงศานุ รักษ์
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รหัสวิชา SOHU 0022 Information Literary หนังสือ วารสาร และสื่อการเรียนรู้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. รู้ เข้าใจความหมายของทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด 2. รู้ เข้าใจวิธีจัดเก็บ และวิธีสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ

สิ่งตีพิมพ์ หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จุลสาร หนังสือ จดหมายข่าว หนังสือชี้ชวน สิ่งพิมพ์รัฐบาล กฤตภาค คู่มือนักศึกษา

วิชาการ ไม่วิชาการ หนังสือ หนังสืออ้างอิง Reference books สารคดี nonfiction นวนิยาย fiction เรื่องสั้น Short story วิชาการ ไม่วิชาการ หนังสือ ตำราอ่าน ประกอบ monographs ตำราเรียน Texts หนังสือเด็ก/เยาวชน

ตำราเรียน Texts / Textbooks - ตำราหลัก มีเนื้อหาครบถ้วนตามหลักสูตรของ แต่ละวิชา นักศึกษาต้องติดตามอ่าน และ ทำแบบฝึกหัดท้ายบท

สรุปส่วนประกอบของหนังสือ 1. ส่วนต้น - หน้าปกนอก หน้าปกใน คำนำ สารบัญ 2. ส่วนเนื้อหา - บทที่ 1 … 3. ส่วนท้าย - บรรณานุกรม ดรรชนี glossary

วิธีจัดระบบหนังสือเพื่อให้ค้นคืนง่าย 1. กรอกข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง สำนักพิมพ์ เมืองที่พิมพ์ ปีที่พิมพ์ ลงใน worksheet เรียกว่า กรอกข้อมูล รายละเอียดทางบรรณานุกรม

2. วิเคราะห์เนื้อหา แล้วกำหนด หัวเรื่อง 2. วิเคราะห์เนื้อหา แล้วกำหนด หัวเรื่อง โดยหาคำ วลี ที่ปรากฏอยู่ในหนังสือหัวเรื่อง เพื่อความเป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกห้องสมุด

แล้วกำหนดเลขประจำหนังสือ รวมเรียกว่า เลขเรียกหนังสือ 3. กำหนดเลขหมู่หนังสือ เป็นไปตามหัวเรื่องที่ให้ไว้ แล้วกำหนดเลขประจำหนังสือ รวมเรียกว่า เลขเรียกหนังสือ

หรือ ระบบ LC. (ใช้ตัวอักษรโรมัน และเลขอารบิก) เลขหมู่หนังสือ คืออะไร คือ สัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าหนังสือเล่มหนึ่งๆ มี เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องใด ก็ให้เลขหมู่ตามหมวดหมู่นั้นๆ และเป็นไปตามระบบเลขหมู่ที่ห้องสมุดใช้ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร จัดหมวดหมู่หนังสือด้วยระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน หรือ ระบบ LC. (ใช้ตัวอักษรโรมัน และเลขอารบิก)

เลขเรียกหนังสือ = Call no. ประกอบด้วย เลขหมู่หนังสือ ใช้สัญลักษณ์ตัวอักษรโรมัน A-Z (Classification no.) และใช้ตัวเลขอารบิก 0001 - 9999 เลขประจำหนังสือ ใช้ตัวอักษรตัวแรกของ ชื่อผู้แต่ง (กรณีคนไทย) (Cutter no.) ใช้ตัวอักษรตัวแรกของนามสกุลผู้แต่ง (กรณี ชาวต่างประเทศ)

เป็นหนังสือเกี่ยวกับ สถิติ เป็นหนังสือเกี่ยวกับ สถิติ เลขหมู่คือ HA29.5.T35 เลขประจำหนังสือ คือ พ65ห46

ต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น คือ โปรแกรม IntraPAC หาเลขเรียกหนังสือ เมื่อจะค้นหาหนังสือ ต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น คือ โปรแกรม IntraPAC หาเลขเรียกหนังสือ

หลักการเรียงหนังสือบนชั้น - เรียงจากเลขเรียกหนังสือที่มีค่าน้อย ไปหาเลขเรียกฯ ที่มีค่ามาก - เรียงจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง

Journal Magazine วิชาการ ไม่วิชาการ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง กึ่งวิชาการ

วิธีจัดเก็บวารสาร มี 3 ขั้นตอน วิธีจัดเก็บวารสาร มี 3 ขั้นตอน 1. วารสารฉบับล่าสุด Current issue 2. วารสารล่วงเวลา Back issue 3. วารสารเล่มเย็บ (เย็บเล่ม) Bounded issue

เครื่องมือค้นหาบทความในวารสาร * โปรแกรมดรรชนีวารสารไทย *

วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ราย 2 เดือน วารสารฉบับปฐมฤกษ์ ราย 2 เดือน ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม - กุมภาพันธ์ 2546) ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (มีนาคม - เมษายน 2546)

ใช้ไฟฟ้า สิ่งไม่ตีพิมพ์ สื่อดิจิตอล ไมโครฟิล์ม CD ไมโครฟิช CD-ROM ฐานข้อมูลออนไลน์ ไมโครแจ็คเก็ส

แบบฝึกหัด ครั้งที่ 3 (งานมอบหมาย 2) 2 คะแนน แบบฝึกหัด ครั้งที่ 3 (งานมอบหมาย 2) 2 คะแนน ให้นักศึกษาเลือกทำเพียง 1 ข้อ 1. จงสำรวจวารสารวิชาการ มา 2 ชื่อ 2. จงสำรวจวารสารในสาขาวิชาที่นักศึกษาสนใจ มา 2 ชื่อ งานทุกชิ้นต้องมีชื่อวารสาร กำหนดออก ดูว่าใครเป็นผู้ผลิต กองบรรณาธิการน่าเชื่อถือหรือไม่ เสนอเนื้อหา เน้นหนักด้านใด มีโฆษณาหรือไม่ ตัวพิมพ์ชัดเจนหรือไม่ ฯลฯ