บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
Advertisements

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
ตัวอย่างการประยุกต์อุปสงค์/อุปทาน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
Training Management Trainee
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Q1. การที่ Supply เลื่อนระดับดังภาพ เกิดขึ้นเนื่องจากสาเเหตุใดบ้าง ?
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
เรื่อง สติ กับการบริโภค
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
Chapter 3 การกำหนดราคามุ่งที่ต้นทุน
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
สื่อประกอบการเรียนการสอน
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
Demand in Health Sector
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 4 การกำหนดเป็นดุลยภาพของตลาดการเปลี่ยนแปลง ภาวะดุลยภาพ และการแทรกแซงดุลยภาพของตลาด ความหมายของดุลยภาพของตลาด ดุลยภาพ (Equilibrium ) หมายถึง ภาวะสมดุลที่เกิดขึ้นเมื่ออุปสงค์เท่ากับอุปทานโดยจุดดุลยภาพจะแสดงราคาดุลยภาพ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
พฤติกรรมผู้ซื้อองค์การ
ทฤษฎีนีโอคลาสสิค.
ตลาด ( MARKET ).
คู่อันดับและกราฟของคู่อันดับ
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand) อุปสงค์ ( Effective Demand ) หมายถึง จำนวนสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ ณ ระดับราคาต่าง ๆ ซึ่งผู้บริโภคมีเงินพอที่จะซื้อได้และมีความเต็มใจที่จะซื้อสินค้านั้น

ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 16 เลขหน้า 2/13 ตารางที่ 1 ตารางอุปสงค์ในการซื้อสมุดของนาย ก. ราคา (บาท/เล่ม) จำนวนซื้อสมุดของนาย ก. (เล่ม/เดือน) 3 6 9 15 4 2

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางอุปสงค์ หนังสือหน้า 17 เลขหน้า 2/14 เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล (individual demand curve) ซึ่งเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายไปขวา และจากบนลงล่าง เส้นอุปสงค์ในการซื้อสมุดของ นาย ก เส้นอุปสงค์เฉพาะบุคคล

กฎของอุปสงค์ (law of demand) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/10 กฎของอุปสงค์ (law of demand) “ปริมาณซื้อสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่งย่อมเปลี่ยนแปลงในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ ”

ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ ราคาสินค้าและบริการนั้น รายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค การโฆษณา ฤดูกาล การคาดคะเนเกี่ยวกับราคาสินค้าและบริการ การเปลี่ยนแปลงในราคาของสินค้า

ฟังก์ชันอุปสงค์ (demand function) อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/8 ฟังก์ชันอุปสงค์ (demand function)

อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปสงค์ หนังสือหน้า 15 เลขหน้า 2/9 อย่างไรก็ตามในการศึกษาอุปสงค์ จะให้ความสำคัญเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนซื้อสินค้าและบริการกับราคาเท่านั้น ซึ่งสามารถแสดงความสัมพันธ์ ได้ดังนี้ หมายความว่า จำนวนซื้อสินค้าและบริการชนิดใด ชนิดหนึ่ง ขึ้นอยู่กับราคาของสินค้าและบริการชนิด นั้น (Px) โดยที่ปัจจัยอื่น ๆ ถูกกำหนดให้คงที่

ความแตกต่างระหว่างการเปลี่ยนแปลงจำนวนซื้อ และการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ ( Change in the quantity - demand ) คือ จำนวนซื้อสินค้าและบริการเนื่องมาจาก ราคาสินค้า เปลี่ยนแปลง ลักษณะเส้นอุปสงค์จะเพียงเคลื่อนย้ายไปตามเส้นอุปสงค์ เส้นเดิม

*** ตัวอย่าง *** P ( ราคา ) D 20 10 D o Q( จำนวนซื้อ ) 300 100 200

การเปลี่ยนแปลงอุปสงค์(Change in demand) จำนวนซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้นหรือลดลง เนื่องมาจาก ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ตั้งแต่ ข้อ 2- 6 กรณีนี้การเคลื่อนย้าย ของเส้นอุปสงค์จะเคลื่อนย้ายทั้งเส้น โดยถ้าจำนวนซื้อเพิ่ม ขึ้นเส้นอุปสงค์จะเคลื่อนไปทางขวาของเส้นเดิม และ ถ้า จำนวนซื้อลดลงเส้นอุปสงค์จะเคลื่อนไปทางซ้ายของเส้นเดิม

เหนื่อยยัง?? อดทนไว้ก่อน บทที่7ต่อเลยระกัน P ( ราคา ) *** ตัวอย่าง *** D D D 2 1 20 D D 1 D 2 Q ( จำนวนซื้อ ) 100 200 เหนื่อยยัง?? อดทนไว้ก่อน บทที่7ต่อเลยระกัน

แบบฝึกหัด 1. อุปสงค์ คือ...................................... 2. ปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ ได้แก่ ........................ 3. ฟังก์ชั่นของอุปสงค์ คือ ..................... 4. จงเติมตารางอุปสงค์ให้สมบูรณ์และเขียนรูปกราฟ