BIOL OGY.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

FOOD PYRAMID.
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
ของส่วนประกอบของเซลล์
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
การจัดระบบในร่างกาย.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
สารอาหารที่ถูกมองข้าม
whey เวย์ : casein เคซีน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
นางสาวอนุสรณ์ สนิทชน , CDT นักโภชนาการ โรงพยาบาลอุดรธานี
DNA สำคัญอย่างไร.
= enzyme By . Kanyakon Sroymano The prince Royal’s college.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
saidaonline.jpg.
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
บทเรียนเพื่อการศึกษาวิชาสุขศึกษา
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
ทางเดินอาหาร (The gut)
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ไลโปโปรตีน ในเลือด แบ่งออกเป็น 5 ชนิดดังนี้
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
โรคเบาหวาน Diabetes.
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
การสืบพันธุ์ของมนุษย์ เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BIOL OGY

สื่อการเรียนรู้ ภาควิชาชีววิทยา วิทยาศาสตร์ ม.2 หลักสูตร โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี (โรงเรียนวิทยาศาสตร์ภูมิภาค) จัดทำโดย ด.ญ. พรธิตา ไกรเวช

ระบบย่อยอาหาร

ระบบในร่ายกายมนุษย์และสัตว์ เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช สัตว์ หรือ แม้เต่สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ เซลล์มีรูปร่าง ขนาด รวมทั้งจำนวนเซลล์แตกต่างกันในแต่ละชนิดของสิ่งมีชีวิต การที่สิ่งมีชีวิตต้องการอาหารและอากาศเพื่อยังชีพนั้น แท้จริงแล้วคือความต้องการของเซลล์ เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ ร่างกาย

การย่อยอาหาร การย่อยเชิงกล การย่อยเชิงเคมี การย่อยอาหารมี 2 ขั้นตอน ได้แก่ การย่อยเชิงกล Mechanical Digestion การย่อยเชิงเคมี Chemical Digestion เป็นกระบวนการทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่ และการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีต่อไป โดยการบดเคี้ยว รวมทั้งการบีบตัวของทางเดินอาหาร การย่อยเชิงกลนี้ ขนาดของโมเลกุลยังเล็กไม่เพียงพอที่ถูกดูดซึมเข้าไปเซลล์ เป็นการย่อยคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีนให้มีโมเลกุลขนาดเล็กลง การย่อยเชิงเคมีเป็นกระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง น้ำย่อยหรือ เอนไซม์ กับโมเลกุลของสารอาหาร

โครงสร้างระบบย่อยอาหาร

บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง ระบบย่อยอาหาร ลิ้น ปาก รับรสชาติอาหาร คือ รสหวาน รสเค็ม รสเปี้ยวและ รสขม ฟัน บดเคี้ยวอาหารให้มีขนาดเล็กลง น้ำลายมีเอนไซม์อะไมเลสย่อยสารอาหารเฉพาะคาร์โบไฮเดรต เป็นน้ำตาล ดังสมการด้านล่าง ต่อมน้ำลาย ฟันน้ำนม 20 ซี่ ฟันถาวร 32 ซี่ อะไมเลส แป้ง + น้ำลาย เดกซ์ทริน + มอลโทส (แป้งขนาดเล็กลง) (น้ำตาลโมเลกุลคู่)

หลอดอาหาร ระบบย่อยอาหาร ประกอบขึ้นด้วยกล้ามเนื้อเรียบที่สามารถบีบตัวเป็นจังหวะในขณะที่มีอาหารผ่านลงมา จึงทำหน้าที่ในการลำเลียงอาหารขากช่องปากผ่านคอหอยลงไปยังกระเพาะอาหารทางเดินอาหาร ส่วนนี้ไม่สามารถสร้างน้ำย่อย แต่สามารถหลั่งสารเมือกช่วยหล่อลื่น

เพปซิน โปรตีน เพปไทด์ กระเพาะอาหาร ระบบย่อยอาหาร ย่อยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีนเป็นสำคัญ โดย เอนไซนม์เพปซินทำให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง เรียกว่า เพปไทด์ ซึ่งก็ยังไม่สามารถดูดซึมได้ เพปซิน โปรตีน เพปไทด์

ระบบย่อยอาหาร ลำไส้เล็ก ดูโอดินัม (Duodenum) ระบบย่อยอาหาร ลำไส้เล็ก ผนังลำไส้เล็กสามารถสร้างน้ำย่อยได้หลายชนิด ลำไส้เล็กส่วนดูโอดินัมได้รับน้ำย่อยมาจากตับอ่อนและรับน้ำดีมาจากตับ น้ำดีช่วยให้โมเลกุลของไขมันแตกตัวเป็นก้อนเล็กลง ทำให้เอนไซม์ไลเพส ย่อยไขมันได้เร็วขึ้น เจจูนัม (Jejunum) อิเลอัม (Ilenum)

ระบบย่อยอาหาร ลำไส้เล็ก ส่วนของคาร์โบไฮเดรตที่เกิดขึ้นจากการย่อย (ในปาก) ยังไม่สมบูรณ์ จะถูกย่อยไปเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ส่วนของโปรตีนที่เกิดขึ้นจากการย่อยในกระเพาะอาหารยังไม่สมบูรณ์ จะถูกย่อยต่อไปจนสามารถดูดซึมได้ เรียกว่า กรดอะมิโน ส่วนของไขมัน จะถูกย่อยต่อไปเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล ส่วนโมเลกุลขนาดเล็กที่สุดของสารอาหารแต่ละชนิดที่ถูกย่อยในลำไส้เล็กนี้ จะถูกดูดซึมเข้าไปในเซลล์ การย่อยอาหารในลำไส้เล็กจะเกิดได้ดีในภาวะที่เป็นเบส โดยอาศัยสารเบสโซเดียมไบคาร์บอเน็ต (NaNCO3) จากตับอ่อน

ระบบย่อยอาหาร ลำไส้ใหญ่ ประกอบด้วย ซีคัม (Caecum) ไส้ติ่ง (Appendix) และ โคลอน (Colon) เป็นทางเดินอาหารส่วนสุดท้าย ส่วนนี้ไม่มีการย่อยอาหาร เพราะไม่มีความสามารถในการสร้างน้ำย่อย หน้าที่ส่วนใหญ่ของลำไส้ใหญ่จึงเป็นการดูดซึมน้ำ เกลือแร่ และวิตามินบางชนิด ลำไส้ส่วนท้ายๆ จะทำหน้าที่ในการเก็บกากอาหาร ก่อนที่จะขับผ่านทวารหนักออกไป