ภูมิปัญญาไทย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ด.ญ.กชกร โชคเฉลิมวงศ์ เลขที่ 15 ป.4/3
Advertisements

วงจรการประยุกต์ความรู้
บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การประยุกต์ใช้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เงื่อนไขการตัดสินใจ แนวทางปฏิบัติ หลักพิจารณา
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
เตรียมตัวผู้แทนชาว ไทย เข้าสู่ “AMC เชียงใหม่ ” “ บอกเล่าเรื่องพระ เยซูเจ้า ให้ชาวเอเชีย ” ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว เชียงใหม่ ตุลาคม 2006.
เศรษฐกิจพอเพียง.
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
เรื่อง อาหารไทย ๔ ภาค จัดทำโดย
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
การจัดการศึกษาในชุมชน
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ระบบความเชื่อ.
นำเสนอโดย น.ส. วิไล เดชตุ้ม
สมัยโชมอน.
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ด.ญ.สุพรรณิกา วัฒนภูษิตสกุณ
โดยเด็กชายทรงธรรม รูปสวยดี
สุขภาพจิต และการปรับตัว
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Amphawa Sustainable City
ความเข้าใจมนุษย์ในสังคม
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
พฤติกรรม / การกระทำที่ สะท้อนความมีคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล ดร. สมโภชน์ นพคุณ รองเลขาธิการ ก. พ. สำนักงาน ก. พ.
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ
กระบวนการการทำงานชุมชน
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
สรุประบบเทคโนโลยี สมาชิกกลุ่ม 1.น.ส.มยุรี ริยะอุด เลขที่ 1 ม.4.10
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
อาหารภาคเหนือ เสนอ อ.ปริสา หนูอินทร์ จัดทำโดย นาย.รัฐธรรมนูญ เลขที่.2
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
เรื่อง อาหารและการแสดง แต่ละภาค กลุ่มที่ 21 นางสาวสุนทรีย์ เมืองนก เลขที่ 44 นางสาวธิดาภรณ์ เอี่ยมสะอาด เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3.
What is the Wisdom ?.
คนอีสาน หลายคน คงรู้จักคุ้นเคยและ ได้ลิ้มชิมรส กันมา บ้างแล้ว ชาว อีสานมีวถีการ ดำเนินชีวิตที่เรียบ ง่ายเช่นเดียวกับ การที่รับประทาน อาหารอย่าง.
การนำเสนอ เรื่องวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย.
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
ครูจงกล กลางชล 1. สรุปแนวคิดเกี่ยวกับ พัฒนาการ ด้าน ความสัมพันธ์ ระหว่าง ประเทศของไทย โดยวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ ได้ 2.
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
เศรษฐกิจพอเพียง.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
การศึกษาเพื่อสืบสวนหา ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับความเป็นมาของ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเหตุการณ์ใด เหตุการณ์หนึ่ง จากหลักฐานที่ได้มี บันทึกเก็บไว้ หรือประสบการณ์จากผู้รู้
วิสัยทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอ ภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
1.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภูมิปัญญาไทย

ความหมายของภูมิปัญญาไทย องค์ความรู้ในด้านต่างๆของการดำรงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรง และทางอ้อม ที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิดสำหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาความรู้ดังกล่าว แล้วนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามกาลเวลา

ความสำคัญของภูมิปัญญาไทย 1. สร้างชาติให้เป็นปึกแผ่นมั่นคง 2. สร้างความภาคภูมิใจ และเกียรติภูมิศักดิ์ศรีของความเป็นไทย 3. การนำหลักธรรมมาประยุกต์ใช้กับวิถีชีวิตอย่างเหมาะสม ทำให้รู้จักพึ่งพาอาศัยกัน ให้อภัยกัน 4. การนำธรรมชาติมาใช้ในการดำรงชีวิต 5. การพัฒนาชีวิตให้เหมาะสมกับยุคสมัย

ประเภทของภูมิปัญญาไทย 1. ภูมิปัญญาระดับชาติ เป็นภูมิปัญญาที่พัฒนาสังคมไทยให้รอดพ้นจากวิกฤตการณ์ต่าง ๆ ในอดีตเช่น การกอบกู้เอกราชโดยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และการเสียแผ่นดินบางส่วนของประเทศไทย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อรักษาเอกราชชาติไทย ทำให้ประเทศไทยไม่ตกเป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตกในยุคล่าอาณานิคม หรือจักรวรรดินิยม 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน คือสิ่งที่แสดงความรู้ ความคิดและการกระทำของบรรพบุรุษของเรา เพื่อที่ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข

ลักษณะของภูมิปัญญาไทย 1. ภูมิปัญญาไทย เป็นเรื่องใช้ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความเชื่อ (Belief) และพฤติกรรม (Behavior) 2. ภูมิปัญญาไทย แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาไทย เป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต

ลักษณะของภูมิปัญญาไทย(ต่อ) 4. ภูมิปัญญาไทย เป็นเรื่องของการแก้ไขปัญหา การจัดการ การปรับตัว การเรียนรู้ เพื่อคงวามอยู่รอดของบุคคล ชุมชน และสังคม 5. ภูมิปัญญา เป็นแกนหลัก หรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิต เป็นพื้นความรู้ในเรื่องต่าง ๆ 6. ภูมิปัญญาไทยมีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาไทยมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา

ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดภูมิปัญญาไทย การได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอื่น สังคมและสภาพแวดล้อม ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์

การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย หาโอกาสใช้สินค้าที่จำเป็นและเป็นผลผลิตที่เกิดจากภูมิปัญญาไทย การศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาไทยในขณะที่เดินทางไปในสถานที่ต่างๆ เพื่อให้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาไทย การเผยแพร่ความรู้ในเรื่องภูมิปัญญาไทยให้กับคนรอบข้างและอนุชนรุ่นหลัง การเป็นสมาชิกของชมรมที่อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย

ตัวอย่างของภูมิปัญญาไทยในภูมิภาคต่างๆ 1.ภาคกลาง อาหารของภาคกลาง เช่น น้ำพริกปลาทู แกงเลียง ต้มโคล้ง ต้มส้ม เป็นต้น

2. ภาคเหนือ เช่น น้ำพริกอ่อง ขนมจีนน้ำเงี้ยว ข้าวซอย แคบหมู ไส้อั่ว แกงโฮะ เป็นต้น

3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) เช่นส้มตำ ปลาร้า น้ำตก ลาบ ก้อย ซุบหน่อไม้ ข้าวเหนียว เป็นต้น

4. ภาคใต้ เช่น ข้าวยำ แกงไตปลา แกงเหลือง ผัดสะตอ เป็นต้น

บ้านเรือน อยู่อาศัย ของแต่ละภูมิภาค