บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนผังงาน (Flowchart)
Advertisements

โปรแกรมภาษาโลโก (logo)
เรื่อง การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Algorithms.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ภาษา SQL (Structured Query Language)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ใบงานที่ 5 สัญลักษณ์ (Flowchart)
หลักการแก้ปัญหา.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
Flow Chart INT1103 Computer Programming
กิจกรรมที่ 7 การวางแผนการแก้ปัญหา (1)
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ภาษาโลโก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนรู้ พัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจหลักการการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถลองผิดลองถูก.
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนผังงาน (Flowchart)
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
ภาษาโลโก(Logo).
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
นางสาวดลลดา สังฆสุวรรณ โรงเรียนสงวนหญิง จ.สุพรรณบุรี
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Microsoft Windows Logo
เด็กหญิง นัฐนรี โยธาตรี เลขที่ 13 ม.3/1
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flow chart).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมแบบลำดับ
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการโปรแกรมเบื้องต้น
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา

ขั้นตอนการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาเป็นกิจกรรมพื้นฐานในการดำรงชีวิตของมนุษย์ การค้นหาคำตอบซึ่งคำตอบที่ได้ต้องสามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นคำตอบที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ การแก้ปัญหาของแต่ละบุคคลมีขั้นตอนและใช้เวลาที่แตกต่างกัน ความรู้และประสบการณ์จะส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาอาจมีได้หลายวิธี บางปัญหามีวิธีแก้ที่ชัดเจน ขณะที่บางปัญหาจำเป็นต้องอาศัยการไตร่ตรอง อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถค้นหาวิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง อันดับแรกจะต้องเข้าใจปัญหาก่อน จากนั้นจึงค้นหาวิธีที่ถูกต้อง และสุดท้ายต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องด้วย

ขั้นตอนการแก้ปัญหาประกอบด้วย 4 ขั้นตอน การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา การวางแผนในการแก้ปัญหา การดำเนินการแก้ปัญหา การตรวจสอบและปรับปรุง

2.การวางแผนในการแก้ปัญหา 1.การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา สิ่งแรกที่ต้องทำคือ ทำความเข้าใจปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่า สิ่งที่ต้องการคืออะไร ข้อมูลที่กำหนดให้คืออะไร 2.การวางแผนในการแก้ปัญหา ควรวางแผนในการแก้ปัญหาด้วยการเลือกใช้เครื่องมือ และวิธีการเพื่อให้ได้ซึ่งคำตอบ ควรจะใช้ประสบการณ์เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาโดยปรับปรุงให้เหมาะสมกับปัญหา

4.การตรวจสอบและปรับปรุง 3.การดำเนินการแก้ปัญหา เมื่อได้วางแผนแล้วก็ดำเนินการแก้ปัญหา ซึ่งการดำเนินการแก้ปัญหาอาจทำให้เห็นแนวทางที่ดีกว่าวิธีที่คิดไว้ ก็สามารถนำมาปรับเปลี่ยนได้ 4.การตรวจสอบและปรับปรุง เมื่อดำเนินการแก้ปัญหาแล้วจำเป็นต้องตรวจสอบว่าวิธีดังกล่าวนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่ถูกต้องตามรายละเอียดของปัญหาที่กำหนดไว้ในขั้นตอนแรกหรือไม่ ถ้าผลลัพธ์ที่ได้ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ จะต้องปรับปรุงวิธีการให้ถูกต้อง

การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหา จากขั้นตอนการแก้ปัญหาทั้ง 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่สำคัญคือ การวางแผนในการแก้ปัญหา เพื่อให้การดำเนินการตามแนวทางในการแก้ปัญหาที่ได้วางไว้ทำได้โดยง่าย ต้องวางแผนให้เป็นขั้นตอน เป็นระเบียบ และสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยอาศัยการถ่ายทอดความคิดที่มีการกำหนดจุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด และลำดับก่อนหลังของขั้นตอนการแก้ปัญหาที่ชัดเจน การถ่ายทอดความคิดเป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้เราสามารถวางแผนการแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และตรวจสอบได้

ตัวอย่าง การทำบะหมี่โดยใช้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เริ่มต้น 1 ตัวอย่าง การทำบะหมี่โดยใช้บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป เริ่มต้น 1. ต้มน้ำให้เดือด 2. ใส่บะหมี่ลงไปในน้ำเดือด 3.รอ2 นาที 4. ใส่เครื่องปรุง จบ

การถ่ายทอดความคิดในรูปของผังงาน มักถูกใช้เป็นขั้นตอนในการวางแผนในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ดังนั้นจึงได้สร้างสัญลักษณ์ในการเขียนผังงานไว้

ความหมาย สัญลักษณ์ การปฏิบัติงาน เริ่มต้นและจบ ชื่อเรียก ความหมาย เริ่มต้นและจบ จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน การนำข้อมูล เข้า-ออกแบบทั่วไป จุดที่นำข้อมูลเข้าหรือออก การปฏิบัติงาน จุดที่มีการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง การตัดสินใจ จุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ทิศทาง ทิศทางขั้นตอนการทำงาน

คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม แสดงผลลัพธ์พื้นที่สามเหลี่ยม เริ่มต้น กำหนดค่าความยาวฐาน กำหนดค่าความสูง คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยม แสดงผลลัพธ์พื้นที่สามเหลี่ยม จบ

การกำหนดค่าให้ตัวแปร การกำหนดค่าอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับตัวแปรสามารถทำได้ 3 วิธี คือ 1.การรับค่าจากภายนอก 2.การกำหนดค่าจากตัวแปรอื่น 3.การกำหนดค่าจากการคำนวณ

สัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับกำหนดค่าให้กับตัวแปร คือ ใช้เพื่อนำค่าทางขวาของ ไปกำหนดให้กับตัวแปรทางด้านซ้ายของ

เช่น x 2 นำค่า2ไปใส่x A b x c นำผลลัพธ์ของ b x cไปใส่ใน A

ภาษาโลโก เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงที่เหมาะสำหรับใช้ในการเรียนรู้ พัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจหลักการการเขียนโปรแกรม ผู้เขียนโปรแกรมจะสามารถลองผิดลองถูก เรียนรู้โดยการทดลองทำ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เกิดการเรียนรู้ การค้นพบภาษาโลโกพัฒนาโดย Papert และคณะจาก MIT เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ควบคุมและสั่งการคอมพิวเตอร์ แทนการให้ผู้เรียนทำตามคำสั่งที่มีผู้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ไว้ ตัวแปลภาษาโลโกที่น่าสนใจคือ MSW Logo

กรณีศึกษาการแก้ปัญหา ขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยภาษาโลโก ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนในการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง

มาทำความรู้จักกับส่วนประกอบบนหน้าต่างโปรแกรมโลโก โดยการเปรียบเทียบภาพบนหน้าจอ คอมพิวเตอร์กับภาพตัวอย่างข้างล่างนี้

ตัวอย่าง : ลักษณะการเคลื่อนที่และหันหัวของเต่า ตัวอย่าง  : ลักษณะการเคลื่อนที่และหันหัวของเต่า เต่าจะไม่เคลื่อนที่ไปไหนเลย  ถ้าไม่มี C.A.R. ซึ่งมีความหมายดังนี้   ตัวย่อ คำเต็ม ความหมาย C Command คำสั่งทำอะไร A Argument ทำเท่าไร R Return หรือ Enter คำสั่งลงมือทำ

คำสั่งเบื้องต้นง่าย ๆ สำหรับการเคลื่อนที่และหันหัวของเต่า                              คำสั่ง ความหมาย FORWARD a เดินหน้า a หน่วย RIGHT m หันขวา m องศา  BACK b ถอยหลัง b หน่วย LEFT n หันซ้าย n องศา

รูปแบบการสั่งเต่าเคลื่อนที่และหันหัวเต่า 1) สั่งเต่าเดินหน้า 50 ก้าว

2) สั่งเต่าถอยหลัง 50 ก้าว

3) สั่งเต่าหันซ้าย 90 องศา

4) สั่งเต่าหันขวา 90 องศา

อ้างอิง http://www.toawittaya.ac.th/2012/E-Learning/IT-Class3/lesson8/lesson8.HTM http://www.mwit.ac.th/~jeab/sheet40102/intro.htm http://www.thaigoodview.com/node/90727?page=0%2C1 http://www.kpsw.ac.th/vichit/media/weblogo/unit2_3.html