การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
Advertisements

PBL : Problem – based Learning
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษา
ความหมายของสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
หลักการพัฒนา หลักสูตร
นวัตกรรม Innovation สุทธินันท์ สระทองหน.
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
หลักการจัดการเรียนการสอน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การเปลี่ยนแปลงโฉมหน้าทางการศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ท่านเกิดปัญหานี้หรือไม่
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การหาหัวข้อวิจัยจากทฤษฎีและ งานวิจัยที่ผ่านมา. ทฤษฎีคืออะไร ?
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
ทฤษฎีการสร้างความรู้
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การปลูกพืชผักสวนครัว
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
สรุป แนวคิด “ การเรียนรู้ ” (Learning) (Additional A1) Key word ที่สำคัญที่สุดของ เรื่อง “ คุณภาพ การศึกษา ” สรุปโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บทที่ 11.
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน รายวิชาการจัดทำโครงงานด้วยกล่องสมองกล ช่วงชั้นที่ 4 ความหมาย กิจกรรมโครงงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นกระบวนการโดยนักเรียนเป็นผู้คิดค้น.
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
John Dewey Learning by Doing โดย...นางดารุณี ประพันธ์
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
การเรียนรู้โดยใช้วิจัยวิจัยเป็นฐาน Research BaseD Learning
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
การเรียนทางคลินิก โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก
การพัฒนามัลติมีเดียที่ส่งเสริมโครงสร้างทางปัญญา
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน Problem – based Learning (PBL)

ความเป็นมา ของ PBL แนวคิดในเรื่องของ การเรียนรู้ ที่นักจิตวิทยาทางการศึกษา นำมาเป็นประเด็นในการถกเถียงกันมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ

1.กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพฤติกรรมนิยม (Behaviorist learning) ในกลุ่มนี้เชื่อว่าความรู้มีอยู่มากมายในโลก แต่ความรู้ที่สามารถถ่ายโยงมายังผู้เรียน อย่างเป็นรูปธรรมมีเพียงเล็กน้อยการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง นักจิตวิทยาที่ได้รับการยอมรับกัน ในกลุ่มนี้ คือ สกินเนอร์ (Skinner)

2. กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้เชิงพุทธิปัญญานิยม (Cognitive learning theory) มีความเชื่อว่า ความรู้เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างที่มีลักษณะเฉพาะ (particular structure) กับสิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (psychological environment) ของผู้เรียนแต่ละบุคคล การเรียนรู้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนโลกภายในของตน โดยอาศัยกระบวนการปฏิสัมพันธ์ที่เกิดจากการรับความรู้ใหม่เข้าไปในสมอง หรือจากการปรับเปลี่ยนความรู้เก่าให้เข้ากับความรู้ใหม่ นักจิตวิทยาที่ได้รับการยอมรับแนวคิดมากที่สุดในกลุ่มนี้ คือ เพียเจท์ (Piaget)

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานคืออะไร? What is The Problem –based Learning ?  

ความหมาย ของ PBL เมื่อดูจากรูปคำศัพท์ Problem – based Learning Problem พรอบเบลม แปลว่า ปัญหา based เบด แปลว่า ฐาน พื้นฐาน Learning เลินนิ่ง แปลว่า การเรียนรู้ Problem – based Learning หรือ PBL ก็คือ วิธีการเรียนรู้วิธีหนึ่ง ที่มีรูปแบบการเรียนรู้ โดยการนำปัญหามาเป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้

การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning หรือ PBL) เป็นรูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม(Constructivism) โดยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในโลกเป็นบริบท(context)ของการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการคิดวิเคราะห์และคิดแก้ปัญหารวมทั้งได้ความรู้ตามศาสตร์ในสาขาวิชาที่ตนศึกษาไปพร้อมกันด้วยการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานจึงเป็นผลมาจากกระบวนการทำงานที่ต้องอาศัยความเข้าใจและการแก้ไขปัญหาเป็นหลัก

ถ้ามองในแง่ของ ยุทธศาสตร์การสอน PBL เป็นเทคนิคการสอน ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เผชิญหน้ากับปัญหาด้วยตนเองจะทำให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะในการคิดหลายรูปแบบ เช่น การคิดวิจารณญาณ คิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ ฯลฯ

ลักษณะทั่วไปของ การเรียนรู้แบบ PBL 1. ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง (student-centered learning) 2. จัดกลุ่มผู้เรียนให้มีขนาดเล็ก (ประมาณ 3 – 5 คน) 3. ครูทำหน้าที่ เป็นผู้อำนวยความสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คำแนะนำ (guide) 4. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น (สิ่งเร้า)ให้เกิดการเรียนรู้ 5. ลักษณะของปัญหาที่นำมาใช้ ต้องมีลักษณะคลุมเครือ ไม่ชัดเจน มีวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างหลากหลาย อาจมีคำตอบได้หลายคำตอบ 6. ผู้เรียนเป็นผู้แก้ปัญหาโดยการแสวงหาข้อมูลใหม่ ๆ ด้วยตนเอง (self-directed learning) 7. การประเมินผล ใช้การประเมินผลจากสถานการณ์จริง(authentic assessment) ดูจากความสามารถในการปฏิบัติ ของผู้เรียน

***การสอนโดยใช้รูปแบบ Problem-based Learning ไม่ใช่การสอนแบบแก้ปัญหา(Problemsolving method) มีครูจำนวนไม่น้อยที่นำวิธีสอนแบบแก้ปัญหาไปปะปนกับ PBL เช่น สอนเนื้อหาไปบางส่วนก่อน

การสอนโดยใช้ PBL ต่างจากการสอนรูปแบบอื่นอย่างไร   การสอนโดยใช้รูปแบบ Problem-based Learning ไม่ใช่การสอนแบบแก้ปัญหา (Problem solving method) หลายคนเข้าใจผิด เช่น สอนเนื้อหาไปบางส่วนก่อน จากนั้นก็ทดลองให้นักเรียนแก้ปัญหาเป็นกลุ่มย่อย ซึ่งการกระทำดังกล่าว เป็นวิธีสอนแบบแก้ปัญหา ไม่ใช่ PBL ส่วนการสอนแบบ PBL นั้นต้องนำปัญหาที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ของผู้เรียนโดยตรงต้องมาก่อนใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นหรือเป็นตัวนำทางให้ผู้เรียน ไปแสวงหาความรู้ความเข้าใจด้วยตนเองเพื่อจะได้ค้นพบคำตอบของปัญหาดังกล่าว กระบวนการหาความรู้ด้วยตนเองนี้ทำให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการแก้ไขปัญหา (Problem solving skill)

สิ้นสุดการนำเสนอ ขอขอบคุณค่ะ

สมาชิกในกลุ่ม นางสาวปรียารัตน์ อินทร์ช้าง นางสาวณัฐธิดา ปราณีนิตย์ นางสาวปรียารัตน์ อินทร์ช้าง นางสาวณัฐธิดา ปราณีนิตย์ นางสาวกาญจนี วรรณทวี นางสาวอัจฉราวดี หมีกุระ นางสาวศิริขวัญ อธิราช