การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
กลไกการวิวัฒนาการ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
นิยามศัพท์ทางเภสัชวิทยา
โครโมโซม.
การศึกษาชีววิทยา.
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
ดีเอ็นเอ และวิทยาศาสตร์พันธุกรรม
สารสกัดจากมังคุด สารสกัดจีเอ็ม-1 (GM-1) สารสกัดแทนนิน (Tannin)
โพรโทซัว( Protozoa ).
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
อาหารจากเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ และการวิเคราะห์ความเสี่ยง
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เทคโนโลยีปุ๋ย ปุ๋ย หมายถึง สารหรือสิ่งซึ่งเราใส่ลงไปในดิน เพื่อวัตถุประสงค์ให้ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชโดยเฉพาไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พืชสามารถเจริญเติบโตงอกงามดีและให้ผลิตผลสูงขึ้น.
รองศาสตราจารย์ ดร. วิศิษฐิพร สุขสมบัติ
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ความก้าวหน้าและผลของเทคโนโลยีชีวภาพ
DNA สำคัญอย่างไร.
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
รายชื่อสมาชิก กลุ่ม1 1.นายวิสุทธิ์ ศิลารัตน์ ม.6/6 เลขที่ 5ก
การวิเคราะห์ DNA.
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สารประกอบ.
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 19 พฤษภาคม 2552
L O G O ชุดทดสอบ กรดเรติโน อิก ใน เครื่องสำอา ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข.
Properties and Classification
ดร. ยิ่งมณี ตระกูลพัว Viral Vaccine Antiviral agents
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานแมลง
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
ดีเอ็นเอและเทคโนโลยีชีวภาพ
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
การเกิดมิวเทชัน (mutation).
Broccoli Wheat grass Barley Grass Spinach Alfalfa Herb Pepermint leaf
อาหารและสารอาหาร อาหาร หมายถึง สิ่งที่รับประทานเข้าสู่ร่างกายแล้วไม่เป็นโทษต่อร่างกายและมีประโยชน์ สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบในอาหารจะเรียกว่า “สารอาหาร”
เหตุการณ์สำคัญทางเทคโนโลยีในมุมมองของนักเคมี III. สุขภาพและการแพทย์ ความรู้ทางด้านเคมีได้มีส่วนช่วยชีวิตคนจำนวนมากทางด้านสุขภาพและการแพทย์ที่ทำให้ เรามีชีวิตอยู่ยืนยาวขึ้น.
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
โดย นางธนาวลัย อรัญญิก
RNA (Ribonuclei c acid). RNA มี 3 ชนิด คือ 1.Ribosomal RNA (rRNA) ไร โบโซมอล อาร์เอ็นเอ ทำหน้าที่เป็นองค์ประกอบหลัก ของ ribosome 2.Transfer RNA (tRNA)
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
DNA marker Selection (transformation, breeding) Identification
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
พันธุศาสตร์โมเลกุล การปรับปรุงพันธุ์ ลักษณะตามต้องการ
ยีนและโครโมโซม ครูจุมพล คำรอต
Transcription (การถอดรหัส)
12 Nov 2014 Metabolism of Nucleotides
โครงสร้างของ DNA. ปี พ. ศ มัวริส เอช เอฟ วิลคินส์ (Maurice H. F
พืชแต่งพันธุ์ต้านทานสารกำจัดวัชพืช Herbicide Tolerant Plant
โดย ครูสุดารัตน์ คำผา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล
ยีนและโครโมโซม นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ การค้นพบสารพันธุกรรม ในปี พ.ศ. 2412 เฟรดดิช มิชเชอร์ (Friedrich Miescher ) นักชีวเคมีชาวสวีเดน ได้ศึกษาส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดมากับผ้าพันแผล โดยนำมาย่อยเอาโปรตีนออก ด้วยเอนไซม์เปปซิน พบว่าไม่สามารถย่อยสลายสารชนิดหนึ่งที่อยู่ภายในนิวเคลียสได้ เมื่อนำมาวิเคราะห์พบว่ามีธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัส เป็นองค์ประกอบ เรียกสารที่สกัดได้จากนิวเคลียสว่า นิวคลีอิน (nuclein ) ต่อมาอีก 20 ปี ได้มีการเปลี่ยนชื่อใหม่ว่า กรดนิวคลีอิก ( nucleic acid ) เนื่องจากพบว่ามีสมบัติเป็นกรด

ในปี พ.ศ. 2547 มีการพัฒนาสีฟุคซิน ( fucsin ) โดยโรเบิร์ต ฟอยล์เกน ( Robert Feulgen ) นักเคมีชาวเยอรมัน ซึ่งให้สีแดงเมื่อย้อม DNA และเมื่อนำไปย้อมเซลล์พบว่า สีจะติดที่นิวเคลียสและจะรวมหนาแน่นที่โครโมโซม จึงสรุปว่า DNA อยู่ที่โครโมโซม ดังนั้น DNA จะต้องควบคุมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้ โครโมโซมประกอบด้วย DNA และโปรตีน การค้นพบว่า DNA อยู่ที่โครโมโซม ทำให้เชื่อว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ซึ่งแต่เดิมเชื่อกันว่า โปรตีนเป็นสารพันธุกรรม เนื่องจาก มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด จึงน่าจะสร้างโปรตีนได้มากพอที่จะควบคุมลักษณะของสิ่งมีชีวิต

ในปี พ.ศ. 2471 เฟรเดอริก กริฟฟิท ( Frederick Griffith ) แพทย์ชาวอังกฤษ ทดลองฉีดแบคทีเรีย Streptococcus pneumonia 2 สายพันธุ์เข้าไปในหนู คือสายพันธุ์ R ( rough = หยาบ เพราะไม่มีแคปซูล ห่อหุ้ม ไม่ทำให้หนูเป็นโรคปอดบวม ) และสายพันธุ์ S ( smooth = ผิวเรียบ มีแคปซูลห่อหุ้มเซลล์ ทำให้เกิดโรคปอดบวมรุนแรงถึงตาย ) ทำการทดลองดังนี้ -นำสายพันธุ์ R ฉีดให้หนูพบว่าหนูไม่ตาย -นำสายพันธุ์ S ฉีดให้หนูพบว่าหนูตาย -นำ สายพันธุ์ S ทำให้ตายด้วยความร้อน แล้วฉีดให้หนู พบว่าหนูไม่ตาย -นำสายพันธุ์ S ทำให้ตายด้วยความร้อนผสมกับสายพันธุ์ R ที่มีชีวิต ทิ้งไว้ระยะหนึ่งแล้วฉีดให้หนูพบว่าหนูตาย เมื่อตรวจเลือดหนูพบว่า มีแบคทีเรียสายพันธุ์ S ปนอยู่กับสายพันธุ์ R จากการทดลอง รายงานว่า มีสารบางอย่าง จาก สายพันธุ์ S เข้าไปยังสายพันธุ์ R และสามารถถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้ แต่ยังไม่ทราบว่า เป็นสารใด

ในปี พ. ศ. 2487 ออสวอลด์ ที แอเวอรี (Oswald T ในปี พ.ศ. 2487 ออสวอลด์ ที แอเวอรี (Oswald T. Avery ) คอลิน แมคลอยด์ ( Colin MacLeod ) และ แมคลิน แมคคาร์ที ( Maclyn McCarty ) ทดลอง นำแบคทีเรียสายพันธุ์ S ทำให้ตายด้วยความร้อนแล้วสกัดสารออก มาใส่ทดลอง 4 หลอด *หลอด ก. เติมเอนไซม์ไรโบนิวคลีเอส ( ribonuclease; RNase ) เพื่อสลาย RNA *หลอด ข. เติมเอนไซม์โปรติเอส ( protease ) เพื่อย่อยสลายโปรตีน *หลอด ค. เติมเอนไซม์ดีออกซีไรโบนิวคลีเอส ( deoxyribonuclease; DNase ) เพื่อย่อยสลาย DNA *หลอด ง. ไม่เติมเอนไซม์ เป็นชุดควบคุม

จากนั้นเติม แบคทีเรียสายพันธุ์ R ลงในแต่ละหลอด ปล่อยไว้ระยะเวลาหนึ่ง นำไปเลี้ยงในอาหารวุ้น แล้วทำการตรวจสอบ พบว่า หลอด ค. ไม่พบแบคทีเรียสายพันธุ์ S (ย่อยสลาย DNA ) หลอด ก. และ หลอด ข. พบแบคทีเรียสายพันธุ์ S สรุปได้ว่า DNA คือสารที่เปลี่ยนพันธุกรรมของแบคทีเรีย จากสายพันธุ์ R ให้เป็นสายพันธุ์ S จึงสรุปว่า กรดนิวคลีอิกชนิด ชนิด DNA เป็นสารพันธุกรรม ไม่ใช่โปรตีนที่เชื่อกันมาตั้งแต่แรก

นอกจากนี้ยังมรการทดลองต่างๆมากมาย ที่ยืนยันว่า DNA เป็นสารพันธุกรรม ของสิ่งมีชีวิต รวมทั้ง ไวรัส แบคทีเรีย โพรตีสต์ พืช สัตว์และคน และยังพบว่า RNA เป็นสารพันธุกรรมในไวรัสบางชนิด เช่นไวรัสที่ทำให้เกิดโรคใบด่างในยาสูบ โรคโปลิโอ เอดส์ ซาร์ ไข้หวัดนก และมะเร็งบางชนิด จนในปัจจุบันสรุปได้ว่า DNA ประกอบด้วยส่วนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม ซึ่งเรียกว่า จีน ( gene ) ซึ่งก็คือ หน่วยพันธุกรรมของเมนเดล ที่เรียกว่า แฟกเตอร์ กับส่วนที่ไม่ได้ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม