หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

เสียง ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
การเคลื่อนที่.
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
หลักการของอัลตร้าโซนิก เครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิก Ultrasonic Cleaning Machine Mahanakorn University of Technology บทนำ โครงงานนี้เป็นการออกแบบสร้างเครื่องทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกและศึกษากระบวนการทำความสะอาดด้วยอัลตร้าโซนิกซึ่งเป็นที่นิยมกันอย่า
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
พลังงาน.
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แรง (Forces)
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ความหมายและชนิดของคลื่น
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
คลื่นผิวน้ำ.
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
เสียง (Sound) (2) การสั่นพ้องของเสียง และ คลื่นนิ่งของเสียง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
หน่วยที่ 1 ปริมาณทางฟิสิกส์ และเวกเตอร์
ซ่อมเสียง.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ครูนฤมล ธรรมรักษ์เจริญ
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
สร้อยข้อมือพลังงาน พลังงาน กำไลเป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อทำงานร่วมกับร่างกายของคุณ ก่อตั้งขึ้นโดยนักกีฬา, สร้อยข้อมือพลังงานเป็นที่ชื่นชอบในหมู่นักกีฬายอดเยี่ยม.
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
น้ำ.
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
บทที่ 8 การรับรู้และการตอบสนอง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง คลื่น (waves) วิทยาศาสตร์ (ว 40216) ฟิสิกส์ ม.6

คลื่น (waves) 1. คลื่น (waves) 2. สมบัติของคลื่น (property of waves) 3. คลื่นเสียง (sound waves) 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic)

1. คลื่น (waves)

ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและองค์ประกอบของคลื่นได้ 2. จำแนกชนิดของคลื่นได้

1. คลื่น (waves) 1. คลื่นคืออะไร 2. ชนิดของคลื่น 3. องค์ประกอบของคลื่น 1. พิจารณาการสั่นของตัวกลาง 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง 3. พิจารณาการรบกวนตัวกลาง 3. องค์ประกอบของคลื่น

คลื่นคืออะไร คลื่น ( wave ) เป็นการเคลื่อนที่แบบหนึ่งเกิดจากการสั่นกลับไปกลับมาของอนุภาค และสามารถส่งผ่านพลังงานจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้ ในระบบใดๆ ก็ตาม ในธรรมชาติเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงไปจากสภาวะสมดุล ณ บริเวณใดบริเวณหนึ่งในระบบอันเกิดจากการรบกวนอย่างใดอย่างหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงนั้นสามารถแพร่ขยายไปยังส่วนอื่นๆของระบบนี้ อาจเรียกการแพร่ขยายไปของการเปลี่ยนแปลงนี้ว่า คลื่น เช่น การใช้มือจุ่มน้ำในขัน ในตุ่ม ในสระ ในแม่น้ำลำคลอง หรือ ขว้างวัตถุลงไปในน้ำ เราจะมองเห็นผิวน้ำกระเพื่อม แล้วแผ่เป็นวงกลมออกไปโดยรอบซึ่งลักษณะนี้ว่า คลื่นน้ำเกิดขึ้นบนผิวน้ำ

http://www. chemistry. ohio-state http://www.chemistry.ohio-state.edu/~grandinetti/teaching/Chem121/lectures/waveparticle/waveparticlelight.html

การสั่นของอนุภาคน้ำเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน http://www.pt.ac.th/ptweb/prajead/คลื่น/พื้นฐาน/คลื่นน้ำ.htm

2. ชนิดของคลื่น 1. พิจารณาการสั่นของตัวกลาง 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง 1.1 คลื่นตามขวาง (Transverse waves) 1.2 คลื่นตามยาว (Longitudinal waves) 2. พิจารณาการใช้ตัวกลาง 2.1 คลื่นกล (Mechanical waves) 2.2 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic waves) 3. พิจารณาการรบกวนตัวกลาง 3.1 คลื่นดล (Pulse waves) 3.2 คลื่นต่อเนื่อง (Continuous waves)

พิจารณาการสั่นของตัวกลาง http://school.obec.go.th/nakhawit/e_learning/cootema/p1.htm

พิจารณาการสั่นของตัวกลาง http://www.phschool.com/atschool/science_activity_library/wave_properties.html

พิจารณาการสั่นของตัวกลาง http://www.plus2physics.com/waves/study_material.asp

พิจารณาการสั่นของตัวกลาง http://tonydude.net/NaturalScience100/chapters/chapter27/chapter27.html

พิจารณาการใช้ตัวกลาง http://www.plus2physics.com/waves/study_material.asp

พิจารณาการรบกวนตัวกลาง คลื่นต่อเนื่อง คลื่นดล http://phys23p.sl.psu.edu/phys_anim/waves/ http://www.physics.ohio-state.edu/~ntg/reu/gifs/cont_invert_wave.gif

องค์ประกอบของคลื่น จากรูป 1. สันคลื่น หมายถึง ตำแหน่งสูงสุดของคลื่นเหนือระดับปกติ เช่น จุด b 2. ท้องคลื่น หมายถึง ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่นใต้ระดับปกติ เช่น จุด d 3. ความยาวคลื่น หมายถึง ระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรือ ระยะจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นถัดไป เขียนแทนด้วย แลมดา ( l ) มีหน่วยเป็น เมตร m 4. แอมพลิจูด หมายถึง ตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด ทั้งอยู่บนสันคลื่นและท้องคลื่น เช่น จุด b และ d http://school.obec.go.th/nakhawit/e_learning/cootema/p1.htm

องค์ประกอบของคลื่น จากรูป 1. สันคลื่น หมายถึง ตำแหน่งสูงสุดของคลื่นเหนือระดับปกติ เช่น จุด b 2. ท้องคลื่น หมายถึง ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่นใต้ระดับปกติ เช่น จุด d 3. ความยาวคลื่น หมายถึง ระยะจากสันคลื่นถึงสันคลื่นถัดไป หรือ ระยะจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นถัดไป เขียนแทนด้วย แลมดา ( λ ) มีหน่วยเป็น เมตร m 4. การกระจัด หมายถึง ระยะจากระดับปกติถึงตำแหน่งต่างๆบนคลื่น เช่น จุด a b มีการกระจัดเป็น + จุด c d มีการกระจัดเป็น – 5. แอมพลิจูด หมายถึง ตำแหน่งที่มีการกระจัดมากที่สุด ทั้งอยู่บนสันคลื่นและท้องคลื่น เช่น จุด b และ d 6. ความถี่ หมายถึง จำนวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผ่านจุด ๆ หนึ่ง / 1 หน่วยเวลา 7. คาบ หมายถึง ช่วงเวลาที่คลื่น 1 ลูก ผ่านจุด ๆ หนึ่ง 8. อัตราเร็วของคลื่น หมายถึง ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น เมตร ต่อ วินาที 9. หน้าคลื่น หมายถึง แนวของสันคลื่นหรือท้องคลื่น ซึ่งตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่นเสมอ 10. รังสีของคลื่น หมายถึง เส้นทางการเคลื่อนที่ของคลื่น

Measuring waves http://www.gcsesciencedoubleaward.co.uk/c30.htm

แบบฝึกหัด 1. อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 m/s จงหาความยาวคลื่นเสียงในอากาศที่ความถี่ 20,000 Hz (0.017 m) 2. ส้อมเสียง A ความถี่ 450 Hz จะทำให้เกิดคลื่นเสียงในอากาศความยาวคลื่น 0.8 m ส้อมเสียง B ความถี่ 1,000 Hz จะเกิดคลื่นเสียงความยาวคลื่นเท่าใด (0.36 m)

References พูนศักดิ์ อินทวี และจำนง ฉายเชิด. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ : ฟิสิกส์ ม.4-ม.6. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2547. 262 หน้า. http://www.kr.ac.th/ebook/supatra/b4.htm http://school.obec.go.th/nakhawit/e_learning/cootema/p1.htm http://dlearn.swu.ac.th/index.php?catid=3&subcatid=5&topicid=2&pageno=4

Thank you Miss Lampoei Puangmalai Department of science St. Louis College Chachoengsao