บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Knowledge Management (KM)
Advertisements

กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ระบบส่งเสริมการเกษตร
Self Help Group หทัยรัฐณ์ วารินทร์ นักสังคมสงเคราะห์ชำนาญการพิเศษ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การเผยแพร่บทความวิชาการจากรายงานวิจัย
Learning Organization PSU.
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
วิธีการดำเนินงานธุรกิจเครือข่าย
มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้
Session 4 “มีเป้าหมาย แล้วต้องเดิน ต้องบิน”
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
แม่ชีเทราซ่า เคยกล่าวไว้ว่า การเป็นนักบริหารให้สำเร็จนั้น มีข้อคิด 2 ประการ 1. Do you know your people 2. Do you really love them.
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
ภาคีห้องสมุด สถาบัน อุดมศึกษาไทย. ความเป็นมา คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการจัดการประชุม ความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 22 ในภาพมีความร่วมมือ.
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การอบรมเทคนิคการวางแผน
โครงสร้างการบริหารคณะเทคโนโลยี บัณฑิตพึงเรียนรู้ตลอดชีวิต
สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ Management Software Hardware
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
Corporate Marketing Headquarters (CMH)
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
สร้างพลังเครือข่าย R2R
มองอนาคตอุดมศึกษาไทย
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็น มหาวิทยาลัยชั้นนำ ในระดับภูมิภาคเอเชีย ทำหน้าที่ผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ และ ทำนุบำรุงวัฒนธรรม โดยมีการวิจัยเป็นฐาน วิสัยทัศน์
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
โครงการส่งเสริมการพัฒนาสหกิจศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
การนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ระบบส่งเสริมการเกษตร
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ เรียนรู้ร่วมกันเพื่อพัฒนาสหกรณ์ ในส่วนของสหกรณ์การเกษตร คณะกรรมการ ๑. คุณสายพิณเอี่ยมป๊อก ประธาน ๒. คุณนิภาเลี่ยมสกุลรองประธาน.
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
วทน. กับสังคม เรียนรู้ วิจารณ์ พานิช มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อ สังคม ( สคส.)
การสร้างและจัดการภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน วิจารณ์ พานิช ยุทธศาสตร์การทำงานของกรมฯ.
KM : การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
การจัดการองค์ความรู้
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ การจัดการความรู้และนโยบายสาธารณะ วิจารณ์ พานิช ประธานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เสวนาใน การประชุม นักวิจัยใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ครั้งที่ ๑๐ วันที่ ๑๖ ต.ค. ๕๓

การจัดการความรู้ KM – Knowledge Management มีหลายสำนัก ตีความหลายแบบ ในที่นี้ใช้แนวของ สคส. (สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม) www.kmi.or.th

การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการของนักปฏิบัติ / เจ้าหน้าที่ประจำ เพื่อ ใช้ & สร้าง ความรู้ในการทำงาน เกิดการยกระดับความรู้จากการทำงาน ทำให้ตนเองเป็น บุคคลเรียนรู้ (Learning Person) เรียนรู้ตลอดชีวิต องค์กร เป็นองค์กรเรียนรู้ (Learning Organization) เกิด CQI, Innnovation ในทุกจุดขององค์กร

การจัดการความรู้ ไม่ใช่จัดความรู้ให้คนอื่นใช้ เป็นการ “จัดการ” เพื่อให้ตนเอง & ทีมงาน เครือข่าย มี ค. ใช้งาน และยกระดับ ค. เรื่องนั้นไปไม่สิ้นสุด เน้นที่ TK ค. ปฏิบัติ / ฝังลึก / จากประสบการณ์

องค์ประกอบของการจัดการความรู้ KM Capture Creation Utilization Sharing Modification Storage Goal งาน คน ความสัมพันธ์ องค์กร

SECI Model of K Spiral T = Tacit Knowledge E = Explicit Knowledge Internalization Socialization Combination Externalization T = Tacit Knowledge E = Explicit Knowledge

บทบาทของนักวิจัย ร่วม “ถอดความรู้” T -> E externalization โดยร่วมฟัง storytelling โดยผู้ปฏิบัติ และตีความ why ด้วย EK / ค. ทฤษฎี อธิบาย/ตอบ ไม่ได้ ไม่แน่ใจ -> โจทย์วิจัย ทำวิจัยตอบโจทย์จาก KM ของผู้ปฏิบัติ ทำหน้าที่วิทยากรกระบวนการ (K Facilitator) หรือ “คุณอำนวย”

วัตรของนักวิจัยที่ต้องการเชื่อมต่อกับ KM ไปคลุกคลี สนิทสนม กับนักปฏิบัติ เข้าไปแบบ เท่าเทียม ลปรร. กัน นักวิจัยมี EK ผู้ปฏิบัติมี TK ผู้ปฏิบัติได้ยกระดับ ค. นักวิจัยได้โจทย์วิจัย และได้ประยุกต์ ค. ในการตีความการปฏิบัติ นักวิจัยพื้นฐาน + นักวิจัยเพื่อสังคม (ประยุกต์) ร่วมมือกัน นักวิจัยเพื่อสังคม ทำหน้าที่ “คุณอำนวย” (K Facilitator)