Computer Programming 1 LAB # 6 Function.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
Computer Programming 1 LAB Test 3
LAB # 1.
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
Introduction to C Programming
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting)
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษา C++
การรับค่าและแสดงผล.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 4: ทางเลือก, เงื่อนไขของทางเลือก
Lecture 13: ฟังก์ชันเรียกตัวเอง
ฟังก์ชัน (Function).
Structure Programming
Structure Programming
1. จงหาผลลัพธ์จากโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 4 Computer Programming 1 1. พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้
LAB # 8 Computer Programming 1
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ลักษณะการทำงานของ Stack
LAB # 7 CASE SWITCH CONTINUE. 2 /*Program : base_num.cpp Process : display change base number of decimal,octal,hexadecimal*/ #include void main() { cout
LAB # 4.
Week 15 C Programming.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
รับและแสดงผลข้อมูล.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Lab 4: คำสั่ง if - else อ.ณัฐพงศ์ พยัฆคิน.
Lab 5: คำสั่ง switch - case
โดย อาจารย์ณัฐพงศ์ พยัฆคิน
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
C Programming Lecture no. 6: Function.
หน่วยที่ 8 อาร์กิวเมนต์ของ main
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงานลักษณะของฟังก์ชั่นมีความรอบรัดสั้นกว่าแบบวนลูป.
Lecture 4 องค์ประกอบภาษา C To do: Hand back assignments
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Lecture 7 ฟังก์ชัน To do: Hand back assignments
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การสร้างฟังก์ชั่นเพื่อพัฒนาโปรแกรม Interactive C
ฟังก์ชั่น digital ทำหน้าที่อ่านค่าลอจิกจากเซนเซอร์
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
C language W.lilakiatsakun.
วิธีการบันทึกหน้า NCDSCREEN ในโปรแกรม JHCIS v.27สิงหาคม55
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
Computer Programming for Engineers
Debugging in VC Computer Programming for Engineers.
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Recursion การเรียกซ้ำ
Output of C.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
C-Programming บทที่ 8 การทำซ้ำ C Programming.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Computer programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 14: โปรแกรมย่อย ( การส่งพารามิเตอร์ แบบ pass by reference)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 9: การทำซ้ำ (for).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Programming 1 LAB # 6 Function

ข้อ 1 ให้เติมช่องว่างในโปรแกรมให้ครบ และลองศึกษาดูว่า เมื่อเรียกฟังก์ชัน func1 และ func2 ว่าผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร ประกาศฟังก์ชันชื่อ func1 ไม่มีการ return ค่า และมี parameter int a void main(){ int x = 5; cout <<" x = " << x << " a = " << a; func1(x); cout << " x = " << x << " a = " << a; x = func2(); } #include <iostream.h> int a = 20; { int x; x = a*2; cout <<" x = " << x << " a = " << a; } x = a*5; ประกาศฟังก์ชันชื่อ func2 มีการ return ค่าชนิด int และไม่มี parameter Lab6-1.cpp return ตัวแปร x

ข้อ 2 เป็นการเขียนโปรแกรมที่มีการทำงานเป็นดังนี้ 1. มีฟังก์ชันรับข้อมูล เพื่อรับข้อมูลตัวแรก 2. มีฟังก์ชันรับข้อมูล เพื่อรับข้อมูลตัวที่สอง 3. มีฟังก์ชันบวกเลข เพื่อทำการคำนวณ 4. มีฟังก์ชันแสดงผล เพื่อแสดงผลลัพธ์จากการคํานวณ 5. ในฟังก์ชัน main เป็นการทำงานโดยมีเรียกใช้ฟังก์ชันที่กล่าวมานี้ Lab6-2.cpp

#include <iostream.h> float InputFloat ( ) { float x; cout << " Input real value : " ; cin >> x ; } ข้อ 2 จงเติมโค้ดในช่องว่างที่ทำให้โปรแกรมสามารถทำงานได้แล้วลองสังเกตการทำงานของโปรแกรมว่าการทำงานของ function เป็นอย่างไร return ตัวแปร x ประกาศตัวแปร parameter x เป็น float y เป็น float float SumFloat ( ) { return ( x + y ); } ประกาศฟังก์ชันชื่อ PrintOut ไม่มีการ return ค่า และมี parameter float x { cout << "\nResult of sum is : " << x; } เรียกฟังก์ชัน InputFloat และ เมื่อ return ค่ากลับมาเก็บในตัวแปร a2 void main ( ) { float a1, a2, sumVal; a1 = InputFloat( ); sumVal = PrintOut ( ); } เรียกฟังก์ชั่น SumFloat และ ส่งค่าตัวแปร a1 a2 เป็น parameter ส่งตัวแปร sumVal เป็น parameter ของฟังก์ชัน PrintOut

ข้อ 3 จงเติมโค้ดในโปรแกรมให้สมบูรณ์ โปรแกรมเพื่อคำนวณปริมาณสีที่ใช้ในการทาห้อง 1 ห้อง โดยให้ผู้ใช้ระบุความกว้าง ความยาว และความสูงของห้องมีหน่วยเป็นฟุต (ไม่พิจารณาประตูหน้าต่าง) กำหนดให้สี 1 แกลลอนทาพื้นที่ได้ 250 ตร.ฟุต ให้โปรแกรมหาว่าจะต้องใช้สีกี่แกลลอน กำหนดให้ฟังก์ชัน input() สำหรับรับข้อมูลความกว้าง ความยาว ความสูง กำหนดให้ฟังก์ชัน area() เพื่อคำนวณพื้นที่ กว้าง * สูง หรือ ยาว คูณสูง และมีการ return ผลลัพธ์การคำนวณกลับ กำหนดให้ฟังก์ชัน gallon() เพื่อคำนวณปริมาณสีที่ต้องใช้จากข้อมูลพื้นที่ผนังห้องทั้งหมด Lab6-3.cpp

ประกาศฟังก์ชันชื่อ gallon มีการ return ค่าชนิด float #include <iostream.h> int width; int length; int height; void input(){ cout <<"Please Enter width:"; cin >> width; cout << "Please Enter length:"; cin >> length; cout << "Please Enter height:"; cin >> height; } { float gallon; int area_length, area_width; int all_area; area_length = 2* area(length,height); all_area = area_length + area_width; gallon = all_area/250.00; int area(int a, int b){ return(a*b); } int main(){ float result; //first call function input width length height input(); result = gallon(); cout <<"\nUse : " << result << "gallons"; ประกาศฟังก์ชันชื่อ gallon มีการ return ค่าชนิด float และไม่มี parameter เรียกฟังก์ชัน area โดยส่ง parameter width และ height ค่าที่ return กลับมาเก็บในตัวแปร area_width return ตัวแปร gallon

เขียนโปรแกรมเพื่อทําหน้าที่หาผลลัพธ์ของการคํานวณจากสมการ x = 2ab + c ข้อ 4 เขียนโปรแกรมเพื่อทําหน้าที่หาผลลัพธ์ของการคํานวณจากสมการ x = 2ab + c โดยเขียน ฟังก์ชัน input() เพื่อรับข้อมูลเลขจํานวนเต็ม a b และ c ฟังก์ชัน compute() เพื่อคำนวณผลลัพธ์จากสมการ และฟังก์ชันoutput() เพื่อแสดงผลลัพธ์ Lab6-4.cpp

ข้อ 5 จงเขียนโปรแกรมเพื่อทำการหาค่าเลขยกกำลังโดยที่ให้กรอกเลขยกกำลังและกรอกเลขชี้กำลังโดยให้เขียนฟังก์ชันชื่อ power(int x,int y) Answer = xy ให้รับค่า x และ y Lab6-5.cpp