Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สีของผ้าที่ทำให้เหงื่อตกได้
Advertisements

Analyze → Compare Means → Paired-Sample T test…
สนามกีฬา.
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
บทที่ 2 มาตรฐานการเขียนแบบ (The Convention of Drawing)
FRP. Pultruded For Cooling Tower
การเลือกใช้ข้อต่อและวาล์วที่เหมาะสมในการสอบเทียบ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
การทดสอบเลี้ยงต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิงในดินชนิดต่างๆ
ในวันหนึ่งๆสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
วัสดุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
กระดาษที่ใช้ในการพิมพ์
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
บทที่ 1 อัตราส่วน.
การเขียนรายงานการทดลอง
Engineering Graphics II [WEEK5]
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
Soil Mechanics Laboratory
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
(Applications of Derivatives)
LAB # 2 : FLOW IN PIPE Section 6
Centrifugal Pump.
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การเสนอโครงการวิจัย.
การวิเคราะห์ Competency
เลื่อยมือ hack saw.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
เครื่องกรองทราย SAND FILTER.
Mold Design # 4 ผิวแบ่งส่วนแม่พิมพ์และระบบป้อน
STEEL RULER หน่วย : เซนติเมตร ( cm ) : มิลลิเมตร ( mm )
บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
การแจกแจงปกติ.
โครงงานต่อยอดเทคโนโลยีที่สืบค้นจากเอกสารสิทธิบัตรระดับนานาชาติ
แบบสอบถาม (Questionnaires)
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
Magnetic Particle Testing
การประเมินค่างาน ดร. สุจิตรา ธนานันท์.
การตรวจสอบการความสามารถ ในการกันเสียงของวัสดุต่างๆ
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
ความหมายของวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
มหัศจรรย์ ... กระดาษแสนกล
ณ โรงแรมมารวยการ์เด็น ธันวาคม 2555
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
การทำฟลูอิดไดเซชันด้วยก๊าซ
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
วิชา งานฝึกฝีมือ( ) เวลาเรียน 6 ชม
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
ครูอำพรรณ ทรัพย์ประชา : ตากพิทยาคม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I LAB # 1 HARDNESS Section 6 1 5030368321 นาย พิชชากร วัชรานุรักษ์ 2 5030433421 นาย มารวย อนันต์สุขเกษม 3 5030434021 นางสาว มาริษา ปรีชาสุข 4 5030451721 นางสาว สิภาลักษณ์ ตั้งเจริญสุขจีระ 5 5030459821 นางสาว รัมภา ชัยจินดา Third Year, Semester 1, year 2009, ME Chula

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I INTRODUCTION ก่อนที่จะเลือกวัสดุชนิดหนึ่งมาใช้ในกระบวนการผลิต ผู้ผลิตควรรู้คุณสมบัติของวัสดุนั้นอย่างละเอียด ซึ่งหนึ่งในคุณสมบัติที่สำคัญก็คือ ค่าความแข็ง (Hardness) : ความต้านทานต่อการกดเจาะ หรือความทนทานต่อการขูดขีด โดยวิธีวัดความแข็งสามารถทำได้หลายวิธี แต่ที่เป็นที่นิยม คือ Rockwell Hardness Test นอกจากนี้ เราสามารถเพิ่มค่าความแข็งให้กับโลหะหลายชนิดด้วยกระบวนการทางความร้อน LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I OBJECTIVES 1. เพื่อศึกษา ทำการวัดและเปรียบเทียบค่าความแข็งของวัสดุทดสอบ 3 ชนิด โดยการทดสอบค่าความแข็งมาตรฐานแบบ Rockwell 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงค่าความแข็งของวัสดุทดสอบ 3 ชนิด หลังจากผ่านการอบ และชุบแข็ง LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

PRINCIPLE of HARDNESS TEST 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I PRINCIPLE of HARDNESS TEST Definition of Hardness Test เป็นการวัดความต้านทานของวัสดุต่อการกดให้เป็นรอยบุ๋ม (indentation) โดยการนำเอาวัสดุชนิดหนึ่งมากดลงบนผิวของวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งถ้าสามารถกดให้เป็นรอยบุ๋มได้ลึก แสดงว่าวัสดุนั้นมีความแข็งต่ำ LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

PRINCIPLE of HARDNESS TEST 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I PRINCIPLE of HARDNESS TEST ROCKWELL HARDNESS TEST เป็นการวัดค่าความลึกจากรอยกดที่ผิวชิ้นงาน ค่าที่อ่านได้จากสเกล คือ ความลึกของรอยกด โดย 1 สเกล มีค่าเท่ากับ 0.02 ไมครอน มีการกดสองขั้น ขั้นแรกกดด้วย minor load = 10 kg ขั้นที่สองคือ major load ซึ่งขึ้นกับสเกลที่เลือกใช้ ♠ Rockwell Scale B ใช้ทดสอบโลหะอ่อนเหนียวปานกลาง หัวเจาะรูปบอล 1.6 mm ภาระ 100 กิโลกรัม ค่าที่ยอมรับได้อยู่ในช่วง 35- 100 HRB ♠ Rockwell Scale C ใช้ทดสอบโลหะแข็ง หัวเจาะเพชรรูปกรวย ภาระ 150 กิโลกรัม ค่าที่ยอมรับได้อยู่ในช่วง 20-80 HRC LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

ROCKWELL HARDNESS TESTER 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I ROCKWELL HARDNESS TESTER MODEL : AVERY type 6402 Hardness Tester Rockwell Standard Scale B,C available LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

DIAGRAM of EXPERIMENT SETUP 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I DIAGRAM of EXPERIMENT SETUP หาความหนาแน่นของวัสดุทั้ง 3 ชนิด เพื่อนำมาวิเคราะห์ว่าเป็นวัสดุชนิดใด จัดเตรียมวัสดุเพื่อทดสอบความแข็ง โดยการขัดผิวทดสอบให้เรียบเป็นมันเงาด้วย hand grinding ทำการกำหนดตำแหน่งที่จะใช้ทดสอบบนผิว โดยควรมีระยะห่างระหว่างรอยกดและจากขอบชิ้นงานอย่างน้อย 3 mm ทำการ calibration เครื่องทดสอบความแข็ง วัดค่าความแข็งของชิ้นทดสอบทั้ง 3 ชนิดด้วยมาตรฐาน Rockwell จำนวน 5 ครั้ง แล้วบันทึกค่าที่ได้ นำชิ้นทดสอบทั้ง 3 ชิ้นไปชุบแข็ง แล้วนำไปทดสอบความแข็งตามข้อ 4-5 อีกครั้ง หาค่า uncertainty ของข้อมูล เปรียบเทียบค่าความแข็งของวัสดุแต่ละชนิด ก่อนและหลังการอบชุบด้วยความร้อน ** หากข้อมูลวัดจากสเกลที่ต่างกัน ต้องมีการแปลงให้อยู่ในสเกลเดียวกัน เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบค่า (ตารางแปลงสเกลอยู่ในภาคผนวก) LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

MATERIAL ANALYSIS via density 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I MATERIAL ANALYSIS via density Assumed Material กว้าง (mm) ยาว (mm) หนา (mm) ปริมาตร (m3) น้ำหนัก (kg) ρ (kg/m3) Al 50.4 65.4 9.3 3.065×10-5 82.22×10-3 2682.54 Steel 51.85 64.95 9.4 3.17×10-5 246.58×10-3 7718.54 Brass 50.85 64.7 9.6 3.158×10-5 262.24×10-3 8303.98 เปรียบเทียบค่าความหนาแน่นที่ได้กับคุณสมบัติของโลหะจากอินเตอร์เน็ต ทำให้เราสามารถตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับชนิดของเหล็กได้ดังตาราง สำหรับเหล็ก อาจารย์ชินเทพได้แนะนำให้ใช้อุณหภูมิอบที่ 800 OC ซึ่งจากตารางเหล็กของผู้ผลิต บริษัท กรุงเทพเหล็กกล้า จำกัด เราสมมติให้เป็นเหล็กแบบ AISI C1049 LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I EXPERIMENT RESULT NOTE 1.Hardness values are interpreted @ 95% confidence 2.All units are Rockwell Scale B (HRB) 3. After hardening, from graph we got Hardness of Al decrease 56.7% Hardness of Brass increase 1.4% Hardness of Steel increase 16.6% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I DISCUSSION ในกรณีของเหล็ก เมื่อให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส จากนั้นลดอุณหภูมิลงอย่างรวดเร็ว เหล็กจะมีโครงสร้างแบบ Pearlite ซึ่งเป็นโครงสร้างที่มีขนาดของเนื้อเกรนเล็กและหนาแน่นมาก เนื่องจากขอบเกรนมีความแข็งแรงมากกว่าเนื้อเกรน ดังนั้น เราจึงสรุปได้ว่า เหล็กที่ผ่านกระบวนการนี้มีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการทดลองที่ได้ค่าความแข็งมากขึ้น 16.6% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I DISCUSSION ในกรณีของทองเหลือง การใช้งานทั่วไปจะมี Zn<30% จาก phase diagram ในช่วงอุณหภูมิ 200 - 1000 oC เป็น phase เดียวกัน จากการที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระดับจุลภาค ทำให้ค่าความแข็งไม่เปลี่ยนแปลงหรือเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย สอดคล้องกับผลการทดลองที่ได้ คือค่าความแข็งเพิ่มขึ้นเล็กน้อยเพียง 1.4% LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I DISCUSSION ในกรณีของอลูมิเนียม หลังทำการชุบแข็ง พบว่าค่าความแข็งของอลูมิเนียมลดลงถึง 56.65 % ซึ่งสาเหตุนั้นเป็นไปได้ 2 กรณี คือ 1.ตามหลักการชุบแข็งอลูมิเนียมผสมนั้นต้องทำเป็นสองขั้นตอน คือ ขั้นตอนแรกอบอลูมิเนียมผสมให้ได้โครงสร้างสภาพเดียว (Phase สภาพเดียว) แล้วชุบให้ คงสภาพเดียวนั้นไว้ ขั้นที่สองต้องนำอลูมิเนียมที่ชุบแล้วมาอบให้ร้อนอีกครั้งหนึ่ง ให้ร้อนเหนืออุณหภูมิห้องจึงจะทำให้อลูมิเนียมแข็งขึ้น แต่เราทำการชุบแข็งอลูมิเนียมเพียงขั้นตอนเดียว จึงสามารถสรุปได้ว่าการทดลองครั้งนี้ ไม่ถูกต้องตามหลักการชุบแข็งของอลูมิเนียม 2.อลูมิเนียมที่ใช้ในการทดลองอาจเป็นประเภทที่ไม่สามารถชุบแข็งได้ ค่าความแข็งจากการทดลองนี้ จึงไม่เพิ่มขึ้น LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I CONCLUSION Materials Hardness (HRB) Hardness changing Before After Aluminum 50.75±1.1 22.0±1.4 -56.70% Brass 77.2±0.9 78.3±1.0 1.40% Steel 97.7±1.3 113.9±1.1 16.60% เพราะฉะนั้นโลหะที่เหมาะสมกับการทำชุบแข็งมากที่สุดใน 3 ชนิดนี้คือ Steel เพราะมีความแข็งเพิ่มขึ้นมากที่สุด LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6

Q&A 2103390 Mechanical Engineering Experimentation and Laboratory I LABORATORY No. 1 : HARDNESS : Section 6