เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
scanf(“%d”,&a); a = (2+3)*4/5; b= a*5/100; if(a<0) ……..
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
Time-Dependent Phenomena of Excited State
Photochemistry.
Electronic Transition
Ground State & Excited State
Law of Photochemistry.
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
SERMASCH LTD. Course code : MN:CK002
Low Power Laser For PT รศ.สมชาย รัตนทองคำ.
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
งบดุลความร้อนของมหาสมุทร (Heat Budget of the Ocean)
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์ ( Laser).
ตาและการมองเห็น กระจกตา - โฟกัสภาพ - ระยะโฟกัสคงที่ เลนส์ตา - โฟกัสภาพ
การเปลี่ยนระดับพลังงาน
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
( wavelength division mux)
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
Clouds & Radiation.
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
บทที่ 10 การวิเคราะห์ธาตุส่วนผสมทางเคมี Chemical composition analysis
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
Liquid Crystal Display (LCD)
องค์ประกอบระบบสื่อสารดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
ความหมายและชนิดของคลื่น
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
ผลิตโดย นางศรีไพ จิตอารี โรงเรียนเมืองแงง อำเภอปัว จังหวัดน่าน
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
โดย ครูเพ็ญนภา ทองนุ่ม
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
แบบจำลองอะตอมของ Bohr
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
ปัญหา คิดสนุก.
แสง เสียง และรังสี ในชีวิตประจำวัน
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ อิศรญาณภาษิต By Pratchanee P. 2/2015.
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการฟิสิกส์
แสง และการมองเห็น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation

คุณสมบัติที่สำคัญของเลเซอร์ 1. เป็นแสงเอกรงค์ คือมีความยาวคลื่นค่าเดียว 2. เป็นแสงอาพันธ์มีความถี่เดียวและมีเฟสตรงกัน 3. เป็นแสงขนานอย่างสมบูรณ์ จึงทำให้สามารถส่งไปในระยะทาง ไกล ๆ ได้โดยความเข้มคงที่ 4. เป็นแสงที่มีความเข้มสูง

เครื่องกำเนิด แสงเลเซอร์

การรวมกันของคลื่นสองขบวนที่มีความต่างเฟส f f = p /3 f = 5p /6 f = 0

การปลดปล่อยรังสี (Emission) การปล่อยรังสีแบบที่เกิดเอง (Spontaneous Emission) อะตอมที่อยู่ในสถานะถูกกระตุ้นช่วงเวลาหนึ่งก็จะกลับสู่สถานะพื้นโดยปล่อยโฟตอนที่มีพลังงาน = E2 -E1 โฟตอนที่ออกมาจากแต่ละอะตอมจะมีเฟสและทิศทางแบบสุ่ม E2 E1 Spontaneous Emission การปล่อยรังสีแบบที่มีโฟตอนมากระตุ้น (Stimulated Emission) อะตอมที่อยู่ในสถานะถูกกระตุ้น เมื่อมีโฟตอนที่มีพลังงานเท่ากับ E2 -E1 มากระตุ้นอะตอมดังกล่าว อะตอมก็จะกลับสู่สถานะพื้นโดยปล่อยโฟตอนที่มีพลังงานเท่ากับ E2 -E1 โฟตอนที่ออกมาจากแต่ละอะตอมจะมีเฟส ทิศทางและโพลาไรเซชัน ตรงกัน E2 E1 Stimulated Emission

กระบวนการขยายแสง Excited medium If a medium has many excited molecules, one photon can become many. Stimulated emission leads to a chain reaction and laser emission. This is the essence of the laser. The factor by which an input beam is amplified by a medium is called the gain and is represented by G.

องค์ประกอบหลัก L 1. ตัวกลางขยายแสง ก๊าซ , สารสี(dye) สารกึ่งตัวนำ,.. ที่มี metastable state 2. แหล่งปัมป์พลังงาน เลเซอร์ , ไฟแฟลช , สนามไฟฟ้า, .. 3. โพรงอภินาท --> ข้างหนึ่งกระจกสะท้อน 100% และอีกข้างหนึ่ง <100%

ตัวกลางขยายแสง (Laser medium) excited state 1. ตัวกลางขยายแสงที่อะตอมมี 2 ระดับพลังงาน * ทำให้เกิดสถานะประชากรผกผัน (population inversion) ได้ยาก * ไม่มีประสิทธิภาพ * Pump Lasing Transition ground state Two-level Laser

2. ตัวกลางขยายแสงที่อะตอมมี 3 ระดับพลังงาน

3. ตัวกลางขยายแสงที่อะตอมมี 4 ระดับพลังงาน

Lasers* Laser Transition Pump Transition Fast decay