การทดลองที่ 5 Colligative property

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
ชนิด ความเข้มข้นและการเตรียม
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
Enthalpy of Formation DHof = การเปลี่ยนแปลงเอนทาลปีของปฏิกิริยา
(Colligative Properties)
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
ตัวอย่างการคำนวณความเข้มข้นของสารละลาย
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่องความเข้มข้นของสารละลาย
1. สเกลเทอร์โมมิเตอร์ ขั้นตอนการทดลอง น้ำกลั่น
สมบัติของสารและการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
Phase equilibria The thermodynamics of transition
Laboratory in Physical Chemistry II
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
เรื่อง เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสมบัติของแข็ง ของเหลว และ แก๊ส
การทดลองที่ 7 การวัดความร้อนด้วยเครื่องแคลอริมิเตอร์
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
สารที่มีค่าลดทอนเหมือนกัน จัดว่าอยู่ในสภาวะที่สอดคล้องกัน
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
ชมรม “อยู่ดีมีสุข” 16 พฤษภาคม 2550
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
การลำเลียงผ่านเมมเบรน
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
องค์ประกอบของแก้ว องค์ประกอบของแก้วชนิดต่างๆที่สำคัญ ตลอดจนสมบัติและประโยชน์ในการประยุกต์ใช้ได้แสดงในตารางที่ 1.
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
แบบฝึกหัดการเตรียมสารละลาย
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีกับปริมาณสารสัมพันธ์
การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ (Reversible change)
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
สมดุลเคมี Chemical Equilibrium
วิชาวิทยาศาสตร์ (ว31101 )ชั้น ม. 1
กระบวนการแพร่และออสโมซิส The process of diffusion and osmosis.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ความร้อน สมบัติของแก๊สและทฤษฎีจลน์ หน้า 1
การจำแนกประเภทของสาร
¤ÃÙàÍÕèÂÁÅÐÍÍ ¸¹Ñ­ªÑ นางเอี่ยมละออ ธนัญชัย ครูเอี่ยมละออ ธนัญชัย
ปฏิบัติการเรื่องการลดขนาด
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่ 10 จุดเยือกแข็งที่ลดลง (Freezing Point Depression)
Department of Food Engineering
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
ปฏิบัติการเรื่องการแช่แข็ง
1 การผลิตเอทานอลและกรด อินทรีย์ จากลำไยอบแห้ง  นางสาวฐิติพร กัน จันวงศ์  นายณัฐพงษ์ กาละปัน  อ. ดร. นพพล เล็กสวัสดิ์ รหัสโครงการ R50D01001.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทดลองที่ 5 Colligative property Freezing point depression

วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสมบัติคอลลิเกทิฟบางประเภทของสาร เพื่อหาจุดเยือกแข็งของสาร เพื่อหามวลโมเลกุลของสารจากจุดเยือกแข็งของสารละลาย เพื่อศึกษาการรวมตัวและการแตกตัวเป็นไอออนของสารจากจุดเยือกแข็งของสารละลาย

ทฤษฎี สมบัติ คอลลิเกทิฟ หมายถึงสมบัติกายภาพของสารละลายที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอนุภาคของตัวละลาย (solute)หรือความเข้มข้นของสารละลาย(solution) แต่ไม่ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวละลาย

จุดเยือกแข็ง คือ อุณหภูมิที่ของเหลวเริ่มเปลี่ยนเป็นของแข็ง ณ อุณหภูมิจุดเยือกแข็งจะเกิดภาวะสมดุลระหว่างของเหลวกับของแข็ง ถ้าดำเนินการทดลองโดยลดอุณหภูมิของเหลวบริสุทธิ์จนถึงจุดหนึ่ง ของเหลวจะเริ่มกลายเป็นของแข็ง อุณหภูมิที่จุดนี้เรียกว่าจุดเยือกแข็ง และของเหลวบริสุทธิ์จะมีจุดเยือกแข็งคงที่

ในทางปฏิบัติ ถ้าลดอุณหภูมิเร็วเกินไปหรือไม่ คนอย่างสม่ำเสมอ จะพบว่าเมื่ออุณหภูมิลด ลงจนถึงจุดเยือกแข็งแล้ว ของเหลวจะยังไม่ กลายเป็นของแข็ง และอุณหภูมิจะไม่คงที่ โดยลดต่ำลงอีกระยะหนึ่ง หลังจากนั้นจึงจะ ค่อยๆ สูงขึ้นจนถึงจุดเยือกแข็งและคงที่ ณ จุดเยือกแข็งนั้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า การเย็นยวดยิ่ง ( supercooling )

การหาจุดเยือกแข็งของสาร 1.ทำให้ของเหลวเย็นลง ดำเนินการวัดอุณหภูมิที่เวลาต่าง ๆ เขียนกราฟระหว่างอุณหภูมิกับเวลา จะได้กราฟที่เรียกว่า กราฟ การเย็นตัว (cooling curve) ดังรูป Tf จุดเยือกแข็งที่ลดลง มีค่าเท่ากับ จุดเยือกแข็งของตัวทำละลายบริสุทธิ์(Tof) – จุดเยือก แข็งของสารละลาย (Tf) อุณหภูมิ (oC) ตัวทำละลายบริสุทธิ์ เวลา ตัวทำละลายเริ่มแข็งตัว Tfo เกิดการเย็นตัวยวดยิ่ง Tf สารละลาย 3. หาจุดเยือกแข็งของของเหลวจากกราฟ

จุดเยือกแข็งของสารละลายต่ำกว่าของสารบริสุทธิ์  Tf = Kf m Tf จุดเยือกแข็งที่ลดลง มีค่าเท่ากับ จุดเยือกแข็งของตัวทำละลายบริสุทธิ์(Tof) – จุดเยือก แข็งของสารละลาย (Tf) Kf ค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็ง (oC/m) m ความเข้มข้นของสารละลาย (molal หรือ mol/kg)

w1 = น้ำหนักของตัวทำละลาย (g) w2 = น้ำหนักของตัวละลาย (g) DTf = Kf …………(2) w1 = น้ำหนักของตัวทำละลาย (g) w2 = น้ำหนักของตัวละลาย (g) M2 = มวลโมเลกุลของตัวละลาย จากสมการ (2) หามวลโมเลกุลของตัวละลายจากจุดเยือกแข็งที่ลดลงได้ M2 = Kf …………..(3) Kf = ค่าคงที่ของการลดลงของจุดเยือกแข็ง (molal freezing point depression constant,)

ในกรณีที่ตัวละลายแตกตัวเป็นไอออน หรือรวมตัวกันเป็นโมเลกุลที่ใหญ่ขึ้น สามารถคำนวณขนาดของการแตกตัวหรือขนาดของการรวมตัวได้ Tf = i Kf m ………(4) i = van’t Hoff factor

วิธีทดลอง จัดตั้งอุปกรณ์ดังภาพ วิธีทดลอง จัดตั้งอุปกรณ์ดังภาพ เทอร์โมมิเตอร์ น้ำแข็งผสมเกลือ ของเหลว magnetic bar

ดำเนินการหาจุดเยือกแข็งของสารต่อไปนี้ ก. น้ำกลั่น ข. สารละลายกลูโคส ค. สารละลายโซเดียมคลอไรด์ ง. สารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต จ. สารละลายแมกนีเซียมคลอไรด์

การคำนวณ 1. คำนวณมวลโมเลกุลของกลูโคส M2 = Kf …………..(3) 1. คำนวณมวลโมเลกุลของกลูโคส M2 = Kf …………..(3) w2 = น้ำหนักของกลูโคส = 7.20 g w1 = น้ำหนักของน้ำ = 100 g Kf = 1.86 o C /m Tf หาจากการทดลอง

จากสมการ Tf = i Kf m i = Tf/Kf m หา Van’t Hoff factor ของสารละลาย 1. C6H12O6 (aq) 0.40 m 2. NaCl (aq) 0.20 m 3. MgSO4 (aq) 0.20 m 4. MgCl2 (aq) 0.20 m จากสมการ Tf = i Kf m i = Tf/Kf m