แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
Advertisements

จัดทำโดย ด.ญ. ณัชชา เตชะสุขะโต ม. 2/1 เลขที่ 31 ระบบสุริยะ
น้ำหนักแสงเงา.
บรรยากาศ.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
สรุป ทฤษฎี MOT : เป็นการสร้าง orbs ของ โมเลกุลขึ้นมาโดยใช้ valence AO’s ทั้งหมดของอะตอมในโมเลกุล, จำนวน MO’s ทั้งหมดที่ได้ = จำนวน AO’s ที่นำมาใช้ แต่ละ.
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
(Structure of the Earth)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
ระบบที่จะเกิดขึ้นใหม่ทางช้างเผือกคือ
ภาพดวงดาวและกาแล็กซี่
วิชา วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน 6 แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
นิยามดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์ (Planet) หมายถึงเทห์วัตถุที่มีสมบัติ ดังต่อไปนี้ครบถ้วน (ก) โคจรรอบดวงอาทิตย์ (ข) มีมวลมากพอที่แรงโน้มถ่วงของดาว.
ดาวเคราะห์แคระ (Dwarf planet)
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ดวงอาทิตย์ The Sun.
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
สภาพท้องฟ้า หลักปฏิบัติในการตรวจอากาศ
ระบบอนุภาค.
Liquid Crystal Display (LCD)
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน “ระบบซึ่งเป็นผลรวมของกาแล็กซีทั้งหมด”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
เทห์วัตถุในระบบสุริยะ
วิชา วิทยาศาสตร์ เลือกเสรี สื่อประสม จัดทำโดย
กาแล็กซีและเอกภพ.
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ชมเชยที่ 4
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ยูเรนัส (Uranus).
ดวงจันทร์ (Moon).
ครูศรีไพร แตงอ่อน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
วิทยาศาสตร์ Next.
ดาวเสาร์ (Saturn).
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ชื่อเรื่อง ดาวเคราะห์
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
10 นักวิทยาศาสตร์คนสำคัญ
โรงเรียน เซนต์หลุยส์ศึกษา
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด.ช.นครินทร์ ขันอ้าย ชั้น ม.1/11 เลขที่ 4
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
ระบบสุริยะ จักรวาล.
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
โลกและสัณฐานของโลก.
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน รายงาน วิชา วิทยาศาสตร์ รหัส23102 เรื่อง เอกภพ ครูผู้สอน แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 สมาชิกกลุ่ม 1.นาย กิติพันธ์ จันทร์เสละ เลขที่ 2 2.นาย นววิช แก้วดวงดี “ 9 3.น.ส. พรรษชล มูลตรีภักดี ” 25 4.น.ส. ฤทัยชนก อ้วนนวล ” 27 5.น.ส. วริศรา อุตคำ ” 28 6.น.ส. ศิริลักษณ์ แสงนวล ” 35 7.น.ส. ศศิธร พิมพ์สุนนท์ ” 32 8.น.ส. อรวรรณ โคตรหลักเพ็ชร ” 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/5 โรงเรียนฝางวิทยายน

เอกภพ

เอกภพ เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาว ที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า กาแล็กซี  และในแต่ละกาแล็กซี ก็จะมีระบบของดาวฤกษ์ กระจุกดาว เนบิวลา หลุมดำ อุกกาบาต ฝุ่นผง กลุ่มก๊าซ และที่ว่างอยู่รวมกันอยู่ ซึ่งโลกก็อยู่ในกาแล็กซีหนึ่ง ที่เรียกกันว่า กาแล็กซีทางช้างเผือก นั่นเอง

กำเนิดเอกภพ นักดาราศาสตร์ยังไม่ทราบแน่นชัดว่าเอกภพมาจากไหน  เกิดขึ้นได้อย่างไร   ซึ่งสามารถสรุปทฤษฎีที่กล่าวถึงการกำเนิดเอกภพได้หลายทฤษฎี   แต่ที่ยอมรับกันมากก็คือ ทฤษฎีบิกแบง (BigBang Theory) ที่กล่าวว่า "สรรพสิ่งทั้งมวลในเอกภพที่ปรากฏอยู่นี้ครั้งหนึ่งเคยรวมตัวกันกลุ่มก้อนและอัดตัวอยู่รวมกันแน่นด้วยพลังมหาศาล  ต่อมาเอกภพเกิดการระเบิดครั้งใหญ่มวลและพลังงานมหาศาลถูกปล่อยออกมา  แต่ความร้อนและพลังงานได้ดึงดูดทำให้สารต่าง ๆ รวมตัวกันเกิดเป็นดาวฤกษ์ดาวเคราะห์  กระจุกดาว กาแล็กซี และพลังงานต่าง ๆ"

การขยายตัวของเอกภพ จากการศึกษากาแล็กซีที่มีขนาดใหญ่ที่สุด  ที่อยู่ใกล้โลก คือ กาแล็กซีแอนโดรมีนา ซึ่งอยู่ห่างจากโลกประมาณ 2 ล้าน ปีแสง  พบว่า  แต่ละกาแล็กซีกำลังเคลื่อนตัวออกห่างกันไปเรื่อย ๆ ทุกทิศทาง  นักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้จากการเปลี่ยนแปลงเส้นสเปกตรัมของแสงที่ได้รับที่บ่งบอกว่ากำลังเคลื่อนที่ออกไป  นับเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่า  เอกภพก็มีการขยายตัวออกไปเรื่อย ๆ เช่นเดียวกัน

สำหรับต้นกำเนิดที่แท้จริงของ เอกภพ   สำหรับต้นกำเนิดที่แท้จริงของ เอกภพ  การกำเนิดเอกภพนั้น ที่จริงมีอยู่หลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับจากนักดาราศาสตร์มากที่สุดในปัจจุบัน ก็คือ ทฤษฎีบิ๊กแบง ที่เชื่อกันว่า เอกภพเริ่มต้นจากความเป็นศูนย์ ไม่มีเวลา และเอกภพกำเนิดขึ้นโดยการระเบิด ซึ่งหลังจากการระเบิดนั้น เอกภพ ก็เริ่มขยายตัวออกไป ก่อนที่จะเกิดอนุภาคมูลฐาน อะตอม และโมเลกุล ต่าง ๆ จากนั้น ทั้งแรงระเบิดดังกล่าว ยังทำให้เกิดแรงดันระหว่างกาแล็กซีต่าง ๆ ให้ห่างกันออกไปเรื่อย ๆ ซึ่งแรงดันที่ถือว่าเป็นวิวัฒนาการของเอกภพมีอยู่แรง 2 แรง ซึ่งทั้ง 2 แรงดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดลักษณะของ เอกภพ ดังนี้

         เอกภพปิด  คือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงานมากเพียงพอ จนแรงโน้มถ่วงสามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ได้         เอกภพแบน  คือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ในระดับที่ แรงโน้มถ่วง ได้ดุลกับแรงดันออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่         เอกภพเปิด  คือ เอกภพมีความหนาแน่นของมวลสารและพลังงาน ต่ำเกินไป ทำให้แรงโน้มถ่วง ไม่สามารถเอาชนะแรงดันออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ได้

ภาพเอกภพปิด ภาพเอกภพแบน ภาพเอกภพเปิด

กาแลกซี

กาแล็กซี กาแล็กซี (galaxy) เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ บริเวณของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต รวมทั้งแก๊สและฝุ่นธุลีในอวกาศกาแล็กซีเป็นส่วนหนึ่งของเอกภพ ซึ่งกำเนิดมาจากมวลของแก๊ส  ภายใต้ความดันและแรงดึงดูดระหว่างกัน  

กาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีทางช้างเผือก  เป็นกาแล็กซีที่ระบบสุริยะสังกัดอยู่  ในคืนเดือนมืดถ้าเรามองขึ้นไปบนท้องฟ้า  จะเห็นเป็นแทบสีขาวพาดอยู่บนฟากฟ้าสำหรับคนไทยจินตนาการว่าเป็นทางเดินของช้างเผือก  จึงเรียกว่า "ทางช้างเผือก“ บริเวณใจกลางของกาแล็กซีมีดาวฤกษ์ กระจุกดาวแก๊สและฝุ่นธุลีอยู่หนาแน่น  ลักษณะของกาแล็กซีมีรูปร่างคล้ายจักรหรือไข่ดาว ถ้ามองด้านบนจะเห็นเป็นรูปทรงกลมหมุนรอบตัวเองแบบทวนเข็มนาฬิกา แต่ถ้ามองด้านข้างจะเห็นคล้ายจานแบน

องค์ประกอบของกาแล็กซี กาแล็กซีประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาวสสารระหว่างดาว เนบิวลา ที่ว่างในอากาศเป็นส่วนใหญ่ กระจุกดาว  คือกลุ่มดาวตั้งแต่สิบดวงไปจนถึงหลายสิบล้านดวง ในกาแล็กซีทางช้างเผือกจะพบกระจุกดาวรอบ ๆ ศูนย์กลางกาแล็กซี สสารระหว่างดาว  ดาวฤกษ์แต่ละดวงอยู่ห่างไกลกันมาก  ระหว่างดวงดาวจึงมีสสารระหว่างดาวซึ่งประกอบด้วยแก๊ส  ฝุ่นธุลีชิ้นส่วนของสะเก็ดดาวแทรกคั่นอยู่ เนบิวลา  กลุ่มเมฆหมอกของแก๊สและฝุ่นธุลีของสสารในอากาศ ที่อยู่ระหว่างดวงดาวใน กาแล็กซี่มี 3 ชนิด -  เนบิวลาสว่าง   -  เนบิวลาเรืองแสง  -  เนบิวลามืด  

กาแลกซีทางช้างเผือก

จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ