ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
การดำเนินชีวิตอย่างมีอุดมคติ
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
เครือข่ายโรงเรียนเอกชน จังหวัดลำปาง วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม 2556
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
จิตพิสัยบริการ ฐานสู่ความเป็นเลิศ (Service Mind)
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
สถาบันการศึกษา.
Happy 8 8 Boxes of Happiness
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
บทที่ บทนำ....
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
รายละเอียดของรายวิชา
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
อิทธิบาท ๔ บรรยายโดย อ.พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
หน้าที่ ของผู้จัดและผู้ให้การศึกษานั้น กล่าว อย่างสั้นที่สุดก็คือการให้คนได้เรียนดี เพื่อที่จะ สามารถทำการงานสร้างตัวและดำรงตัวให้เป็นหลัก เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้
จรรยาบรรณ เรื่องส่งเสริมเสรีภาพในวิชาชีพ
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
โครงงาน คุณธรรมจริยธรรมในชั้นเรียน
การใช้อำนาจและอิทธิพล
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
บทบาทอาสาสมัครผู้สูงอายุ
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๒
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
เนื้อหาพิเศษ : การตั้งเป้าหมาย
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ : ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
ศาสนาพุทธ เรื่อง ฆราวาสธรรม ๔ จัดทำโดย
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
ทักษะการใช้กิริยาท่าทางและบุคลิกการเป็นครู
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
อิทธิบาท4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจ
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.

การบริหารจิต ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
การศึกษาเจตคติต่อวิชาการเลขานุการ
๕. ๑ ใส่เสื้อขาว ทุกคน. ๕. ๒ ทำบุญใส่บาตร ฟัง เทศน์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
การปฏิบัติตัวของวัยรุ่น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด.ช.ศรัญญู วงษ์ไกร ชั้น ม 3/2 เลขที่14 โรงเรียนวัดพวงนิมิต เสนอ ครู ศราวุธ ไชยเจริญ ครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ

ไตรสิกขา ไตรสิกขา ไตรสิกขาคืออะไร ไตรสิกขา คือ หลักการพัฒนาชีวิตเพื่อให้ประสบความสำเร็จเป็นคนสมบูรณ์แบบตามแนวพุทธ ไตรสิกขา จึงจัดอยู่ใน มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) คือ ควรทำให้เกิดมีขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องมือพัฒนาชีวิต ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา ๓ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ต้องศึกษา ๓ อย่าง คือ ๑. อธิสีลสิกขา สิกขา คือ ศีลอันยิ่ง ๒. อธิจิตตสิกขา สิกขา คือจิตอันยิ่ง หมายถึง สมาธิ ๓. อธิปัญญาสิกขา สิกขา คือ ปัญญาอันยิ่ง

ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือ กระบวนการพัฒนา ๓ ด้าน คือ ศีล เป็นหลักการพัฒนาระดับความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม สมาธิ เป็นหลักการพัฒนาจิตใจให้มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพในการคิดพิจารณาตัดสินใจกระทำหรือไม่กระทำการใด ๆ ปัญญา เป็นหลักการพัฒนาความรู้ความเข้าใจ รู้จักสิ่งทั้งหลายตามที่มันเป็น และสามารถแยกแยะวิเคราะห์สืบหาสาเหตุของสิ่งทั้งหลายได้ชัดแจ้ง ไตรสิกขาจึงเป็นกระบวนการพัฒนาแบบบูรณาการ

สุขภาพจิต สุขภาพจิต คือ สภาพชีวิตที่เป็นสุข มีอารมณ์มั่นคงสามารถปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีสมรรถภาพในการ ทำงาน และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความพอใจ สุขภาพไม่ว่าจะเป็นสุขภาพกายหรือสุขภาพจิตเป็นสิ่งสำคัญและ จำเป็นสำหรับทุกชีวิตในการดำรงอยู่อย่างปกติ เป้าหมายของการเรียนรู้ วิชาสุขภาพจิต ก็คือ การทำให้ชีวิตมีความสุข ความพอใจ ความสมหวัง ทั้งของตนเองและของผู้อื่น

ความสำคัญของสุขภาพจิต "สุขภาพจิต" มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์หลายด้าน ดังนี้ 1. ด้านการศึกษา ผู้ที่สุขภาพจิตดีย่อมมีจิตใจปลอดโปร่ง สามารถศึกษาได้สำเร็จ 2. ด้านอาชีพการงาน ผู้ที่สุขภาพจิตดีย่อมมีกำลังใจต่อสู้อุปสรรค ไม่ท้อแท้ เบื่อหน่าย ทำงานก็บรรลุผลสำเร็จ 3. ด้านชีวิตครอบครัว คนในครอบครัวสุขภาพจิตดี ครอบครัวก็สงบสุข 4. ด้านเพื่อนร่วมงาน ผู้ที่สุขภาพจิตดีย่อมไม่เป็นที่รังเกียจ ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ดี 5. ด้านสุขภาพร่างกาย ถ้าสุขภาพจิตดีร่างกายก็สดชื่น หน้าตายิ้มแย้ม สมองแจ่มใส เป็นที่สบายใจแก่ผู้พบเห็น อยากคบค้าสมาคมด้วย

ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต การพัฒนาคน ให้เป็นผู้มีคุณภาพ ที่สำคัญที่สุดก็คือ การปลูกฝังให้คนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรมจริยธรรม เพื่อก่อให้เกิดความสงบสุขในสังคม วิธีการหนึ่งที่น่าจะให้ผลดีในการปลูกฝังและพัฒนาการมีคุณธรรมจริยธรรม ก็โดยใช้ หลักไตรสิกขา เนื่องจากไตรสิกขาเป็นระบบและเป็นกระบวนการในการฝึกฝน อบรม ฝึกหัดเพื่อพัฒนาคนใน 3 ด้านคือ • พัฒนา ด้านพฤติกรรม เรียกว่า ศีล • พัฒนา ด้านจิตใจ เรียกว่า สมาธิ • พัฒนา ด้านปัญญา เรียกว่า ปัญญา ทั้งนี้ก็เพื่อให้บุคคลมีการดำเนินชีวิตไปในวิถีที่ถูกต้องดีงาม

ปัญญาวุฒิธรรม ๔ ประการ คือ 1 ปัญญาวุฒิธรรม ๔ ประการ คือ 1.สัปปุริสสังเสวะ หมายถึงการอยู่ใกล้คนดี ใกล้ผู้รู้ มีครู อาจารย์ดี มีข้อมูล มีสื่อที่ดี 2.สัทธัมมัสสวนะ หมายถึง เอาใจใส่ศึกษาโดยมีหลักสูตร การเรียนการสอนที่ดี 3.โยนิโสมนสิการ หมายถึง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผลที่ดีและถูกวิธี 4.ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ หมายถึง ความสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตได้ถูกต้องเหมาะสม

คำคม คนที่มองโลกในแง่ดี.. ย่อมเห็นโอกาสในทุกยามที่เกิดวิกฤต คนที่มองโลกในแง่ร้าย.. ก็ย่อมเห็นแต่วิกฤตในทุกโอกาส