ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงาน ความหลากหลายของพืช.
Advertisements

ยินดีต้อนรับเข้าสู่ งานนำเสนอ
การเปลี่ยนสีของสารละลายบรอมไทมอลบลูซึ่งเกิดจากการหมักของยีสต์
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
บรรยากาศ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
ของส่วนประกอบของเซลล์
กำเนิดเซลล์โปรคาริโอต
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ชีวเคมี I (Biochemistry I)
Physiology of Crop Production
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
วงจรสี.
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
Fiber Crops (พืชเส้นใย)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
การสืบพันธุ์ของพืช.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
อาณาจักร Protista -เป็น eukarytote กลุ่มแรกที่วิวัฒนาการมาจาก
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 15 ข้อ next.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จัดอยู่ในอาณาจักรโพรทิสตา
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
สารประกอบ.
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
Class Polyplacophora.
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช

บทนำ อาจกล่าวได้ว่า หากปราศจากพืชในระบบนิเวศน์บนบกแล้ว สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ ทั้งนี้เพราะสิ่งมีชีวิตนั้นปราศจากอาหารที่จะนำไปใช้เป็นแหล่งพลังงานในการทำกิจกรรมต่างๆ พืชในฐานะผู้ผลิตที่สำคัญจะถ่ายทอดพลังงานจากแสงอาทิตย์ไปยังสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ โดยการ ถ่ายทอดพลังงานนั้นในรูปของพลังงานเคมี  พลังงานเคมีนี้เก็บไว้ในโมเลกุลของสารที่มีคาร์บอน และไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ (ไฮโดรคาร์บอน) สิ่งมีชีวิตต้องสลายโมเลกุลดังกล่าวเพื่อให้ได้ พลังงานเคมีออกมาใช้ได้ พืชสร้างสารไฮโดรคาร์บอนจากสารตั้งต้น คือ น้ำ (H2O) และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์เชื่อมธาตุคาร์บอนเข้าด้วยกัน

พืชคืออะไร สิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์แบบยูคาริโอต (eukaryote) ประกอบด้วยหลายเซลล์และส่วนใหญ่ ดำรงชีวิตบนบก มีผนังเซลล์ที่มีเซลลูโลส (cellulose) เป็นองค์ประกอบ สามารถสร้างอาหารด้วยการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยใช้รงควัตถุคลอโรฟิลล์ เอ คลอโรฟิลล์ บี และคาโรทีนอยด์ มีวงจรชีวิตแบบสลับ มี เอมบริโอ (embryo) ซึ่งพัฒนามาจากไซโกต

วงจรชีวิตแบบสลับ วงจรชีวิตแบบสลับ คือวงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่มีการสลับกันของระยะแกมีโทไฟต์ (gametophyte) และสปอร์โรไฟต์ (sporophyte) ระยะแกมีโทไฟต์เป็นระยะที่เซลล์ สืบพันธ์ ส่วนระยะสปอโรไฟต์เป็ระยะที่สร้างสปอร์ วงชีวิตแบบนี้พบในพืชและสาหร่ายบาง กลุ่ม มีจุดเด่นคือจะพบโครงสร้างที่ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ (multicellular organism) ทั้งในระยะแกมีโทไฟต์ และสปอร์โรไฟต์ สปอโรไฟต์เป็นระยะที่เริ่มจากไซโกตเป็นต้นมา มีโครโมโซมสองชุด (2n) จึงเรียกระยะนี้ว่าดิพพลอยด์ (diploid) สปอโรไฟต์เป็นพืชที่สร้างอับสปอร์ (sporangium)  ซึ่งภายในจะสร้างสปอร์   การเจริญของสปอโรไฟต์จากไซโกต จนถึงการสร้างอับสปอร์เกิดโดยการแบ่งเซลล์แบบไมโตซิส แต่การสร้างสปอร์เกิด โดยการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiotic cell division)  สปอร์จะเจริญไปเป็น แกมีโทไฟต์ต่อไป

อาณาจักรพืช                                         

พืชไม่มีเนื้อเยื้อลำเลียง พืชไม่มีเนื้อเยื่อท่อลำเลียง (Non-vascular plants) พืชกลุ่มนี้ได้แก่ไบรโอไฟต์ (bryophytes) พืชสีเขียวขนาดเล็กพบบริเวณที่ร่มและชื้น gametophyte เด่นในวงจรชีวิต ซึ่งเป็นพืชที่พบทั่ว ๆ ไป การปฏิสนธิยังจำเป็นต้องอาศัยน้ำเป็นตัวกลาง (สเปิร์มจะว่ายน้ำเข้าไปผสมกับไข่ ภายในอับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย) เช่นเดียวกับในสาหร่ายสีเขียว แต่แตกต่างที่จาก ไซโกต (2n) จะเจริญเป็นเอมบริโอ ก่อนที่จะเป็น sporophyte sporophyte มีช่วงชีวิตสั้นและจะต้องอาศัยอยู่บน gametophyte ตลอดชีวิต   ความหลากหลายของไบรโอไฟต์ Bryophytes Link: ไบรโอไฟต์ในประเทศไทย เกี่ยวกับไบรโอไฟต์ในแง่มุมต่างๆ

มอสส์ในประเทศไทย มอสส์ในประเทศไทย

ลิเวอร์เวิร์ดและฮอร์นเวิร์ดในประเทศไทย                                                                      

ดอกไก่ฟ้า (Aristolochia sp.) รูปพืชต่างๆ                     ฟอสซิลของ กลุ่มใกล้เคียงเฟิร์น                      ฟอสซิลของเฟิร์น                      ฟอสซิลของเฟิร์ ดอกไก่ฟ้า (Aristolochia sp.)          เมล็ด ฟอสซิลของ กลุ่มใกล้เคียงเฟิร์น ฟอสซิลของเฟิร์น ฟอสซิลของเฟิร์น ฟอสซิลของเฟิร์น ฟอสซิลของเฟิร์น ดอกไก่ฟ้า (Aristolochia sp.) Alethopteris sp Neuropteris sp เมล็ดในผลทับทิบ (Punica punatum) เมล็ดในผลทับทิบ (Punica punatum)