Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
ไฮบริไดเซชัน (Hybridization)
การศึกษาโครงสร้างในแบบ 3 มิติ ว่า อะตอมต่างๆมีการจัดเรียงตัวในที่ว่าง
ปฏิกิริยาการเตรียม Amines
กรด-เบส (acid-base) คริษฐา เสมานิตย์.
สารชีวโมเลกุล คริษฐา เสมานิตย์.
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
Introduction to Enzymes
เคมีอินทรีย์ บทนำ ผศ. ดร. วราภรณ์ พาราสุข
เคมีอินทรีย์ กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid)
หลักการทางเคมีของสิ่งมีชีวิต
กรดนิวคลีอิก (Nucleic acid)
สารอนินทรีย์ (Inorganic substance)
สิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี้มีรูปร่าง และโครงสร้างที่แตกต่างกัน
ปฏิกิริยา เอสเทอริฟิเคชัน (esterification)
C10H8 + 12O2  10CO2 + 4H2O The Types of Chemical Reaction
วัสดุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้
การเสื่อมเสียของอาหาร
แบบฝึกหัด.
พันธะโคเวเลนต์ ความยาวพันธะ พลังงานพันธะ.
CARBOHYDRATE.
Periodic Table.
Amines NH3 H-O-H [NH4]+ [OH]- เอมีนหรืออะมีนเป็นสารอินทรีย์ที่ N-atom
สมบัติทางเคมีของเอมีน
Mr.POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
Mr. POP (Sarote Boonseng) Mahidol Wittayanusorn School
แนวโน้มของตารางธาตุ.
Naming and Physical & Chemical Properties of Organic Chemistry
Chemical Properties of Grain
Chemical Properties of Grain
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต์
บทที่ 9 Amines.
บทที่ 5 Alkyl Halides.
บทที่ 1 Introduction.
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
สมบัติพื้นฐานและการเลือกใช้ประโยชน์ของเทอร์โมพลาสติก
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
การเกิดผลึกและสเตอริโอไอโซเมอร์ในเทอร์โมพลาสติก
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
DNA สำคัญอย่างไร.
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
สารประกอบ.
Coagulation and Flocculation
โดย คุณครูพัชรี ลิ้มสุวรรณ
Position Isomerism Functional Isomerism Geometric Isomer
เคมี ม.6 ว30225 เคมีอินทรีย์ (Organic Chemistry)
ไอโซเมอริซึม (Isomerism)
ยางพอลิไอโซพรีน.
การจำแนกประเภทของสาร
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
หมู่ฟังก์ชัน (Functional Group)
Exp. 6 Crystal Structure Pre-Lab
กรดไขมัน กรดไขมันอาจมีอยู่เป็น องค์ประกอบของลิพิดต่างๆ หรืออยู่ในรูปอิสระ โดยทั่วไปกรดไขมันจาก ธรรมชาติ มีแกนโมเลกุลเป็น คาร์บอน จำนวนเป็นคู่ เรียง.
ภาคต้น 2557 เรื่อง Lipids (ตอนที่ 1)
พันธะเคมี.
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชื่อ คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate), แซคคาไรด์ (Saccharide) ซึ่งจริงๆ แล้วเป็นชื่อเรียกรวมๆ ของกลุ่มของสารเคมีชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด สารเคมีในกลุ่มนี้มีหลายชนิด.
JIRAT SUKJAILUA Science Department Maechai Wittayakom school
สารและสมบัติของสาร วิทยาศาสตร์ ม.1 โดย นางภัทรา คำสีทา
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ พอลิเมอร์ คือสารมวลโมเลกุลสูงที่มีโครงสร้างโมเลกุลประกอบด้วยหน่วยซ้ำ (repeating unit)

Polymer พอลิเมอร์ แบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้ แบ่งตามการเกิด ก. พอลิเมอร์ธรรมชาติ เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น โปรตีน แป้ง เซลลูโลส ยางธรรมชาติ ข. พอลิเมอร์สังเคราะห์ เป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากการสังเคราะห์เพื่อใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เช่น พลาสติก ไนลอน ดาครอนและลูไซต์

Polymer แบ่งตามชนิดของมอนอเมอร์ที่เป็นองค์ประกอบ ก. โฮโมพอลิเมอร์ เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ชนิดเดียวกัน เช่น แป้ง พอลิเอทิลีน PVC                     ข. โคพอลิเมอร์ เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยมอนอเมอร์ต่างชนิดกัน เช่น โปรตีน พอลิเอสเทอร์ พอลิเอไมด์

พอลิเมอร์ที่พบในชีวิตประจำวัน

การเกิดพอลิเมอร์ (Polymerization) 1. พอลิเมอไรเซชันแบบเติม (Additional Polymers) เกิดจากมอนอเมอร์ที่เป็นสารประกอบอินทรีย์ไม่อิ่มตัว (สารที่มีพันธะคู่ระหว่างอะตอมคาร์บอน)

สังเกตว่าจำนวนอะตอมทั้งหมดในหน่วยซ้ำของพอลิเมอร์ เท่ากับ จำนวนอะตอมทั้งหมดในโมโนเมอร์ (2C, 4H)

propylene polypropylene โมโนเมอร์ พอลิเมอร์ หน่วยซ้ำ (repeating unit) สูตรโครงสร้างแบบย่อ

การเกิดพอลิเมอร์ (Polymerization) 2. พอลิเมอไรเซชันแบบควบแน่น (Condensation Polymers) เกิดจากมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 1 หมู่ทำปฏิกิริยาและมีสารโมเลกุลเล็กเกิดขึ้นเช่น H2O HCl NH3 CH3OH C6H12O6 + C6H12O6 + C6H12O6 + ... แป้ง + nH2O

โครงสร้างของพอลิเมอร์ (Skeletal Structure) แบบเส้น (linear) เป็นโซ่ยาวยึดด้วยพันธะโคเว-เลนต์โซ่พอลิเมอร์เรียงชิดกันมากกว่าโครงสร้างอื่นจึงมีความหนาแน่นสูง จุดหลอมเหลวสูงแข็ง ขุ่นเหนียวมากกว่าโครงสร้างอื่น ตัวอย่างพอลิเมอร์แบบเส้น ได้แก่ พอลิไวนิลคลอไรด์ PVC (ท่อน้ำ แผ่นน้ำ) , พอลิโพรพิลีน PP (ถุงพลาสติก,ขวดน้ำ), พอลิสไตรีน PS (โฟม),

โครงสร้างของพอลิเมอร์ (Skeletal Structure) แบบกิ่ง (branched polymers) เป็นสายโซ่ที่มีกิ่งก้าน ทำให้ไม่สามารถจัดเรียงโซ่พอลิเมอร์ให้ชิดกันได้มาก จึงมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำยืดหยุ่นได้ ความเหนียวต่ำ โครงสร้างเปลี่ยนรูปได้ง่ายเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น เช่น พอลิเอทิลีน

โครงสร้างของพอลิเมอร์ (Skeletal Structure) แบบร่างแห มีการเชื่อมต่อระหว่างสายโซ่พอลิเมอร์เชื่อมโยงเป็นร่างแห บางครั้งเราเรียกพอลิเมอร์ ประเภทนี้ว่า crosslinked polymers มีความหนาแน่นมาก ไม่ยืดหยุ่น พอลิเมอร์ชนิดนี้มีความแข็งแกร่ง และเปราะหักง่าย ตัวอย่าง เบกาไลต์ เมลามีนใช้ทำถ้วยชาม

เอทิลีน เมื่อให้เกิดความร้อนที่อุณหภูมิสูงกว่า 100 oC ภายใต้ความกดดันสูงและมีตัวเร่งกิริยา จะเกิดเป็นพอลิเอทีน ( CH2 CH2 )n Polyethylene

โพรพิลีน พอลิโพรพิลีน HOME