Array.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาร์เรย์ (Array ).
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
BOON Array. BOON ตัวแปรอาร์เรย์แบบหนึ่งมิติ (One Dimension) Type array_name [Nmax],…; Ex. char fname[5]; char sname[5];
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
การรับค่าและแสดงผล.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Principles of Programming
ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)
Data Type part.III.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Arrays and Pointers.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ARRAY.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
การประมวลผลสายอักขระ
Array.
ตัวแปรชุด Arrays.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
อาร์เรย์ (Arrays).
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
วิธีการเขียนโปรแกรมเพื่อทำงานกับข้อมูล โดยที่ ข้อมูลนั้นจะต้อง 1. เป็นประเภทเดียวกัน | ตัวเลข, ตัวอักษร 2. มีขนาดเท่ากัน ? ARRAY คืออะไร.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Array

อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ กลุ่มข้อมูลประเภทเดียวกันที่มีการอ้างอิงถึงชื่อตัวแปรชื่อเดียวกัน โดยการอ้างอิงข้อมูลแต่ละตัวในอาร์เรย์จะมีการใช้ตัวชี้เพื่ออ้างอิง ตัวชี้ (index) ไว้อ้างถึงข้อมูลในอาร์เรย์ สมาชิก (element) คือ สมาชิกในอาร์เรย์

การประกาศตัวแปรชนิดอาร์เรย์ 1 มิติ รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์>[ขนาดของอาร์เรย์] ตัวอย่าง int score[10]; char name[21]; float x[20]; score[0] score[1] score[2] score[3] score[4] score[5] score[6] score[7] score[8] score[9] score

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ 1 มิติ รูปแบบ: <ประเภทข้อมูล> <ชื่ออาร์เรย์> [ขนาดอาร์เรย์] = {ค่าของสมาชิกแต่ละตัว} ตัวอย่างเช่น int num[5] = {10, 20, 30, 40, 50}; char character[3] = {‘a’, ‘b’, ‘c’}; char st[6] = “Hello”; เท่ากับ char st[6] = {‘H’, ‘e’, ‘l’, ‘l’, ‘o’}; num[0] num[1] num[2] num[3] num[4] num 10 20 30 40 50

การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ การกำหนดค่าให้โดยตรง รูปแบบ: <ชื่ออาร์เรย์>[ตัวชี้] = ค่าที่ต้องการกำหนดให้ ตัวอย่างเช่น กำหนดให้ char ch[6]; int i[3]; ch[0] = ‘H’; ch[1] = ‘e’; i[1]= 5; i[0] i[1] i[2] 5 i ch[0] ch[1] ch[2] ch[3] ch[4] ch[5] H e ch

การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ การอ่านค่าเพื่อเก็บในอาร์เรย์ ตัวอย่างเช่น scanf(“%c”, character[1]); scanf(“%c”, i[0]);

การเข้าถึงสมาชิกในอาร์เรย์ 1 มิติ การเก็บค่าให้กับสมาชิกในอาร์เรย์โดยใช้ loop รูปแบบ: for (int index = 0; index < arraysize; ++index) <กำหนดค่าหรืออ่านค่าของสมาชิกที่มีตัวชี้อยู่> ตัวอย่าง for (int i=0; i<10; ++i) scanf(“%d”, sample[i]);

ตัวอย่างการใช้อาร์เรย์ 1 มิติ เขียนโปแกรมเพื่อรับค่าจำนวนเต็มเข้ามา 10 จำนวน เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงผลลัพธ์ จำนวนเต็มในข้อ 1. หาผลบวกของจำนวน 10 จำนวนในข้อ 1. แสดงผลลัพธ์ของผลบวกในข้อ 3.

แบบฝึกหัด เขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาตัวเลขในตัวแปรอาร์เรย์ โดยกำหนดให้ตัวแปรอาร์เรย์เก็บข้อมูลได้ 10 จำนวน และมีค่าดังนี้ 25, 100, 84, 43, 98, 0, 55, 38, 12, 7 จากนั้นรับตัวเลขที่ต้องการค้นหาเข้ามา พื่อตรวจสอบว่าตัวเลขนั้นอยู่ที่ตำแหน่งใดภายในตัวแปรอาร์เรย์ ถ้าไม่พบตัวเลขที่ต้องการค้น ให้แสดงข้อความ “Not found data”

การส่งค่าจากอาร์เรย์ 1 มิติไปยังฟังก์ชัน การเรียกใช้ การนิยาม

ตัวอย่าง

อาร์เรย์หลายมิติ รูปแบบ <ประเภทข้อมูล> ชื่อตัวแปร[ขนาด N] …[ขนาด 2][ขนาด 1]; ตัวอย่างเช่น int m[4][3][6]; การกำหนดค่าเริ่มต้น int xy[3][3] = {10,20,30,40,50,60,70,80,90};

ตัวอย่าง

ตัวอย่าง เขียนโปรแกรมเพื่อรับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน พร้อมคำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคน และหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน

รับคะแนน 4 วิชา ของนักเรียน 5 คน ตัวอย่างหน้าจอข้อมูลเข้า ตัวอย่างโปรแกรม

คำนวณหาค่าเฉลี่ยของคะแนนในแต่ละวิชา ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม

ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ นับจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน และคำนวณคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนแต่ละคน และหาว่านักเรียนสอบผ่านกี่คน โดยนักเรียนจะสอบผ่านก็ต่อเมื่อมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 50 คะแนน ตัวอย่างหน้าจอแสดงผลลัพธ์ ตัวอย่างโปรแกรม นับจำนวนนักศึกษาที่สอบผ่าน