CS Assembly Language Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษา JAVA.
Advertisements

เอาไว้ใช้ในการอธิบายกระบวนการแปลภาษาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
Introduction to C Introduction to C.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา c
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
บทที่ 3 ภาษาสำหรับเขียนโปรแกรม
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Operating System Structure
Graphic Programming Language for PIC MCU
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
ประเภทของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Building native COBOL applications คอมไพเลอร์ตรวจหา syntax errors แล้วสร้าง native machine code จากนั้น linker ทำหน้าที่ link native machine code ให้เป็น.
Intermediate Representation (รูปแบบการแทนในระยะกลาง)
สภาวะแวดล้อมในขณะโปรแกรมทำงาน
Functional Programming
Graphic Programming Language for PIC MCU
ภาษาคอมพิวเตอร์ กฎเกณฑ์เกี่ยวกับคำศัพท์ ไวยากรณ์ และ หลักภาษาในการเขียนคำสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้กับเราได้ มีหลากหลายชนิดต่างๆ กัน.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 29.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 16.
Utility (โปรแกรมอรรถประโยชน์)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
ภาษาคอมพิวเตอร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
ภาษาโปรแกรมเชิงหน้าที่
Logic Programming โปรแกรมเชิงตรรกะ.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ JAVA
ขั้นตอนการแปลงไฟล์.
Surachai Wachirahatthapong
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 7.
CS Assembly Language Programming
CS Assembly Language Programming Period 30.
CS Assembly Language Programming Period 13.
ภาษาที่ใช้ในการเขียนเว็บ
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
Introduction to Computer organization & Assembly Language
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ประวัติและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมภาษาซี
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
บทที่ 1 รู้จักกับภาษาจาวา
โครงสร้าง ภาษาซี.
คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการโปรแกรมคอมพิวเตอร์
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
2 มิ. ย 2547 โดย วชิราวุธ ธรรมวิเศษ 1 บทที่ 1 แนะนำเทคโนโลยีจาวา Introduction to Java Technology.
ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
introduction to Computer Programming
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

CS344-321 Assembly Language Programming Period 2

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Languages) ภาษาระดับสูง (High Level Language) ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) machine independent language machine dependent language CPU CPU + OS = PLATFORM

ภาษาระดับสูง (High Level Language) ก. ภาษาเชิงกระบวนงาน (procedure oriented language) หรือ ภาษาเชิงคำสั่ง (imperative language) หรือ ภาษาสัญนิยม (conventional language) เช่น C, Pascal เป็นต้น ข. ภาษาเชิงหน้าที่ (applicative หรือ functional language) เช่น LISP, SCHEME, ML เป็นต้น ค. ภาษาการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (logic programming language) เช่น PROLOG เป็นต้น ง. ภาษาเชิงวัตถุ (object oriented language) เช่น C++, JAVA เป็นต้น จ. ภาษาการโปรแกรมเชิงขนาน (parallel programming language) หรือ ภาษาการโปรแกรมภาวะพร้อมกัน (concurrent programming language) เช่น ADA, concurrent Pascal เป็นต้น

ภาษาระดับต่ำ (Low Level Language) ก. ภาษาเครื่อง (machine language) เช่น 1011 0100 0000 1001 เป็นต้น ข. ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) เช่น mov ah,9 เป็นต้น

คอมไพเลอร์ (compiler) ตัวแปล (Translators) source program translator target or object program คอมไพเลอร์ (compiler) high level language compiler machine language ช่วงการแปล (compile time) machine language input output ช่วงกระทำการ (execution time)

อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) input high level language interpreter output แปลและกระทำการ แอสเซมเบลอร์(assembler) assembly language assembler machine language ช่วงการแปล machine language input output ช่วงกระทำการ

ตัวเชื่อมโยง (Linkers) object program linker executable program object program object program library library manager คลัง (Library) object program