การทำงานเชิงสังเคราะห์ เสถียร คามีศักดิ์ บุคลากรเชี่ยวชาญ
การสังเคราะห์ การผสมผสานรวมกันอย่างกลมกลืนของส่วนประกอบ ต่าง ๆ จนกลายเป็นสิ่งใหม่ที่มีเอกลักษณ์และคุณสมบัติเฉพาะ
-การสังเคราะห์แสงของพืช -การสกัดยาจากสมุนไพร -น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ -ยาเม็ด -การสังเคราะห์แสงของพืช -การสกัดยาจากสมุนไพร -น้ำมันเครื่องสังเคราะห์ -ใยสังเคราะห์ -เรซินสังเคราะห์ -ยางสังเคราะห์ -การสังเคราะห์งานวิจัย
“ การสังเคราะห์งานวิจัย หมายถึง การนำผลงานวิจัยตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปมาบูรณาการเป็นผลงานใหม่”
ผลงานเชิงวิเคราะห์ ผลงานที่แสดง การแยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของเรื่องอย่างมีระบบ มีการศึกษาในแต่ละองค์ประกอบและหาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ ซึงเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน หรือสถาบันอุดมศึกษา( ก.พ.อ.)
งานที่เกิดจากการสังเคราะห์ เป็นการรวบรวม ด้านเนื้อหา องค์ประกอบในเรื่องที่จะสังเคราะห์เข้าด้วยกัน เรื่องนั้นต้องเป็นประโยชน์ต่องานในหน้าที่ /ต่อหน่วยงาน/ต่อสถาบัน ต้องเป็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดแนวคิดหรือเทคนิควิธีการใหม่
“การวิเคราะห์ คือการแยกแยะหาต้นตอสาเหตุ หาตัวแปรที่สำคัญ การใช้เครื่องมือทางสถิติ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์มาทำการวิเคราะห์ หรือคิดแบบวิเคราะห์ ผังก้างปลา ผังรากไม้ กราฟ การดูแนวโน้มฯ การสังเคราะห์ คือการรวบรวม การสรุป การคิดรวบยอด เป็นเรื่องที่ทำจะยากกว่าการวิเคราะห์” (วรภัทร์ ภู่เจริญ :2546)
(เยาวลักษณ์ พิพัฒน์จำเริญกูล กศม เทคโนโลยีทางการศึกษา) “ การสังเคราะห์ หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมส่วนย่อยของสิ่งต่าง ๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้กลายเป็นเรื่องราวหรือเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หรือแนวคิดรูปแบบใหม่” (เยาวลักษณ์ พิพัฒน์จำเริญกูล กศม เทคโนโลยีทางการศึกษา)
“การสังเคราะห์ ถือเป็นเครื่องมือทางความคิดของตัวเรา ให้อยู่ในฐานะผู้แต่ง/ผู้ประพันธ์” (Allene Cooper :1996)
ผลงานเชิงสังเคราะห์ ผลงานที่แสดงกระบวนการรวบรวมเนื้อหาสาระต่าง ๆ หรือองค์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างรูปแบบหรือโครงสร้างเบื้องต้น เพื่อให้เกิดแนวทางหรือเทคนิควิธีการใหม่ในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่องานของหน่วยงานหรือสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.)
“ความคิดสร้างสรรค์เป็นการสังเคราะห์ความคิดเห็นต่าง ๆ ให้มารวมตัวกันเป็นของใหม่ โดยยึดหลักผลรวมทั้งหมดของรูปพรรณสัณฐานใหม่มีค่ามากกว่าผลบวกของส่วนย่อย ๆแต่ละส่วน” (Robert W. Olson)
การคิดสร้างสรรค์ -เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ที่แตกต่างไปจากเดิม ที่ใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม -การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคำตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น -องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ (1)ต้องเป็นสิ่งใหม่ (2)ต้องใช้การได้ (3)ต้องมีความเหมาะสม
การสังเคราะห์ SYNTHESIS มาจากคำว่า SYN (ซิน) แปลว่า รวม และคำว่า THESIS (ธิซิซ) แปลว่า ปรากฏการณ์ใหม่ “การคิดสังเคราะห์ –ความสามารถในการคิดที่ดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมกันภายใต้โครงร่างใหม่อย่างเหาะสม เพื่อเกิดสิ่งใหม่ที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากเดิม
“การคิดเชิงสังเคราะห์ –ความสามารถในการที่ดึงองค์ประกอบต่าง ๆ มาหลอมรวมหรือถักทอภายใต้โครงร่างใหม่อย่างเหมาะสม ตรงตามวัตถุประสงค์” “1.การคิดที่ต้องออกแรงทั้งในการค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะคิด ที่มีจำนวนมากและกระจัดกระจายอยู่ตามที่ต่าง ๆ 2.ต้องมาคัดกรองเอาเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวโยงกับเรื่องที่คิด 3.แล้วเอามาหลอมรวมกันให้อยู่ภายใต้แบบ/โครงร่างเดียวกัน”
การคิดเชิงสังเคราะห์ 1.สร้างสิ่งใหม่-การประดิษฐ์สิ่งของ เครื่องใช้ อุปกรณ์ต่าง ๆ งานศิลปะ 2.สร้างแนวคิดใหม่-พัฒนาแนวคิดใหม่ ๆ คิดในมิติใหม่ ๆ ใช้เทคนิคระดมสมอง ใช้เทคนิคเดลฟาย
ประเด็นสำคัญของงานสังเคราะห์ 1.ทำสิ่งใหม่- มี 2 ลักษณะ 1.1 เปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์แทบไม่เหลือเค้าโครงเดิม –นำกระดาษมาทำเป็นโต๊ะ 1.2ผสมผสานส่วนประกอบย่อย ต่าง ๆ กลายเป็นของใหม่-ทำกับข้าว
2.หาทางเลือกใหม่ สิ่งที่ปฏิบัติอยู่เดิมไร้ประสิทธิภาพ /บริบทเปลี่ยนแปลง /พบอุปสรรคไม่คาดคิด
3.สรุปสิ่งที่กระจัดกระจ่ายเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เอาไว้ด้วยกัน -สังเคราะห์เชิงวิพากษ์ นำข้อมูลที่มีอยู่หลากหลายมาตรวจสอบวิพากษ์หา จุดเด่น ข้อจำกัด ความเหมาะสม-ไม่เหมาะสม อย่างละเอียดแล้วนำมาสังเคราะห์หลอมรวมเข้าด้วยกันในรูปแบบที่วางไว้ - สังเคราะห์เชิงสร้างสรรค์ นำข้อมูลต่าง ๆมาหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงอย่างสมเหตุสมผล กลายเป็นสิ่งใหม่ ทั้ง 2 ดังกล่าว ไม่สามารถแยกออกจากกันอย่างชัดเจน
ลักษณะนิสัยของนักคิดเชิงสังเคราะห์ 1.ไม่ชอบสิ่งเดิม-ชอบถามหาสิ่งใหม่ 2.ไม่นิ่งเฉย-ชอบสะสมข้อมูล 3.ไม่ชอบจับแพะชนแกะ-ชอบเชื่อโยงเหตุและผล 4.ไม่ชอบแปลกแยก-ชอบผสมผสาน 5.ไม่ชอบคลุมเครือ-ชอบคมชัดในประเด็น 6.ไม่ลำเอียง-ชอบวางตนเป็นกลาง
ลักษณะนิสัยของนักคิดเชิงสังเคราะห์ 7.ไม่ชอบยุ่งเหยิง-ชอบระเบียบระบบ 8.ไม่ท้อถอย-ชอบมานะพรากเพียร 9.ไม่คิดแยกส่วน-ชอบคิดหลายมิติ
ตัวอย่างที่เกิดจากการสังเคราะห์ หนังสือ เกิดจากการสังเคราะห์แนวคิดต่าง ๆ ถักทอกันเป็นหนังสือ หรือบทประพันธ์ รถยนต์ เกิดจากการสังเคราะห์ส่วนประกอบต่าง ๆ พวงมาลัย เบาะ กระจก ล้อ เครื่องยนต์ฯ ข้าผัด เกิดจากการสังเคราะห์ ส่วนประกอบต่าง ๆ นำมัน ข้าว ไข่ หมู ฯ
การเลือกเรื่องที่จะทำงานเชิงสังเคราะห์ 1.งานในหน้าที่ 2.งานที่ตนมีความชำนาญเชี่ยวชาญ 3.เป็นเรื่องที่ตนสนใจ Hot ในช่วงนั้น 4.เรื่องที่หาข้อมูลได้สะดวก ทันสมัย 5. ประโยชน์ หน้าที่ หน่วยงาน สถาบัน 6.ขอบเขตไม่กว้าง แคบจนเกินไป 7.เวลา ต้องมั่นใจว่ามีเวลาพอ
งานสังเคราะห์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า การทำโครงการเสนอผู้บริหาร โดยต้องเอาข้อมูลมาจากหลายแหล่ง(ผลงานวิจัย ตำรา หนังสือ บทความ สัมภาษณ์ รายงานการประชุม) แล้วนำมาร้อยเรียงกัน เชื่อมโยงกันอย่างมีระบบอยู่ในรูปแบบใหม่ที่เราต้องการ ไม่ได้นำข้อมูลมาเรียงต่อกันไว้เฉย ๆ แต่เอามาหลอมรวม มีคุณสมบัติเฉพาะเจาะจงเป็นไปตามวัตถุประสงค์ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม “
งานสังเคราะห์ ที่ได้จากการประชุมสัมมนา ชื่อ “รายงานการสังเคราะห์ ข้อเสนอแนะยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร มศว” โดยทำการสังเคราะห์ความคิดเห็นของทุกคนที่ได้จากการประชุมสัมมนา มาจัดทำเป็นรายงาน จัดเรียงเป็นหมวดหมู่ขึ้นใหม่ โดยลำดับโครงร่างความคิดใหม่ เริ่มตั้งแต่ ความหมาย ความสำคัญ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การแบ่งหมวดหมูหัวข้อ บท ตอนให้ชัดเจน
งานสังเคราะห์ที่ได้จากการปฏิบัติหน้าที่ ควรเลือกงานที่มีผลสัมฤทธิ์ตาตัวชี้วัด อธิบายว่างานชิ้นนี้สำเร็จ ตอบสนองนโยบายของหน่วยงาน/สถาบันอย่างไร เป็นงานที่ต้องใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างไร ต้องใช้ความรู้ตามทฤษฎี ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง มีขั้นตอนการทำงานอย่างไร มีเงื่อนเวลาในการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง มีความยุ่งยากซับซ้อนอย่างไร ใช้เทคนิคอย่างไร ข้อควรระวัง สมรรถนะ มีปริมาณและคุณภาพ มีปัญหา/ข้อเสนอแนะ มีประโยชน์
“เทคนิคในการปฏิบัติงานพัฒนาบุคลากร สังกัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ” ตัวอย่าง “การพัฒนาบุคลากร ที่ประสบความสำเร็จตามตัวชี้วัด ของมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ” “เทคนิคในการปฏิบัติงานพัฒนาบุคลากร สังกัดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ”
บทที่ 1 ความสำคัญ ความหมายและ มาตรฐานความสำเร็จ -ความสำคัญ -ความหมาย -มาตรฐานวัดความสำเร็จ บทที่ 2 การบันทึกปริมาณ คุณภาพของาน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน -การบันทึกปริมาณงานและ คุณภาพของงาน -ขั้นตอนการทำงาน -แผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน
บทที่ 3 เทคนิคในการปฏิบัติงาน. -หลักกฎหมาย/ทฤษฎี บทที่ 3 เทคนิคในการปฏิบัติงาน -หลักกฎหมาย/ทฤษฎี -ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ -สมรรถนะ -จรรยาบรรณ/จริยธรรม -ข้อควรระวัง/ข้อสังเกต -การทำให้ผู้รับบริการพึงพอใจ
บทที่ 4 ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขและ. พัฒนางาน. -ปัญหาอุปสรรค บทที่ 4 ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขและ พัฒนางาน -ปัญหาอุปสรรค -แนวทางแก้ไข -แนวทางพัฒนางาน -ข้อเสนอแนะ
การกำหนดกรอบแนวคิด ขั้นที่ 1 รวบรวมความคิด ข้อมูลที่มี ขั้นที่ 2 จัดหมวดหมู่ความคิด ข้อมูลขั้นที่ 1 ขั้นที่ 3 จัดลำดับความรู้ความคิด นำข้อมูลมาเรียงลำดับ ขั้นที่ 4 วางโครงร่าง จัดทำสารบัญ 66,480 41,720 (28,550) 59,770 29,900 (23,230) 50,550 21,080 (18,190) 36,020 14,330 (12,530) 7,940 – 22,220 (6,800) 4,630 – 18,190
รูปแบบของโครงร่าง Outline แบบที่ 1 เนื้อหามาก แบ่งเป็นตอน แบ่งเป็นบท ประเด็นหลัก ประเด็นย่อย แบบที่ 2 เนื้อหาไม่มากเหมือนแบบที่ 1 แต่พอแบ่งเป็นบท ๆ ได้ แบบที่ 3 เนื้อหาไม่มากพอที่จะแบ่งเป็นบท ต้องแบ่งออกเป็นตอน ๆ
ตัวอย่างแบบที่ 1 ตอนที่ 1..... บทที่ 1... ประเด็นหลัก... ประเด็นหลัก... ประเด็นย่อย... บทที่ 2... ประเด็นหลัก... ประเด็นย่อย... ตอนที่ 2... บทที่ 3....
ตัวอย่างแบบที่ 2 เรื่อง พฤติกรรมผู้นำสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา บทที่ 1 ความหมาย ความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่และผู้นำกับการบริหาร -ความหมาย -ความสัมพันธ์ของอำนาจหน้าที่ -ผู้นำกับการบริหาร -สรุป
บทที่ 2 ลักษณะของผู้นำ -ลักษณะของผู้นำที่ประสบผลสำเร็จ -ลักษณะของผู้นำที่ประสบความล้มเหลว -ลักษณะของผู้นำ 3 แบบ -การเป็นผู้นำโดยสถานการณ์ -ข้อบกพร่องของผู้นำ -การพัฒนาผู้นำ -สรุป
บทที่ 3 งานของผู้นำสายสนับสนุนวิชาการ -ด้านแผนงาน -ด้านบริหาร -ด้านบริหารทรัพยากรบุคคล -ด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ -สรุป
บทที่ 4 แบบของผู้นำ -แบบเน้นคนและแบบเน้นงาน -แบบเน้นหัวหน้าและแบบเน้นลูกน้อง -แบบเน้นมิตรสัมพันธ์กับกิจสัมพันธ์ -แบบอาศัยแรงจูงใจ -แบบคุณลักษณะเฉพาะตัว -แบบการครองตำแหน่ง -แบบเปิดโอกาส -แบบแนวคิด PERT -แบบแนวคิด LEVINE -แบบ BLACK&MOUTON -แบบทฤษฎี X แบบทฤษฎี Y -สรุป
บทที่ 5 พฤติกรรมผู้นำสายสนับสนุนวิชาการ -การสื่อความหมาย -การตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหา -มนุษยสัมพันธ์ -สรุป บรรณานุกรม ประวัติผู้เขียน
ตัวอย่างแบบที่ 3 เรื่อง การทำงานเชิงสังเคราะห์ ข้าราชการประเภททั่วไป วิชาชะเฉพาะ เชี่ยวชาญเฉพาะ พนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการ (ฉบับเร่งรัด พ.ศ.2554) ตอนที่ 1 ความสำคัญ ความหมาย และการเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์ -ความสำคัญ -ความหมาย -การเลือกเรื่องทำงานเชิงสังเคราะห์
ตอนที่ 2 กรอบแนวคิดและรูปแบบงานเชิงสังเคราะห์ -การกำหนดกรอบแนวคิด -รูปแบบโครงร่าง -การทำบรรณานุกรม คำนิยม คำนำ ภาคผนวก และประวัติผู้เขียน
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ ส่วนประกอบตอนต้น *ปกนอก *ปกใน *คำนิยม *คำนำ *สารบัญ *บัญชีตาราง/บัญชีภาพประกอบ
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงวิเคราะห์ ส่วนประกอบเนื้อหา *ส่วนที่จัดทำสารบัญเป็นบท ๆ ส่วนประกอบตอนท้าย *บรรณานุกรม *ภาคผนวก *ประวัติผู้เขียน
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ คำนิยม *รับรองจากผู้บังคับบัญชา ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในช่วงนั้น เพื่อให้ผลงานเป็นที่น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น คำนำ *บอกขอบข่ายของเรื่อง *สาเหตุที่สนใจ *จุดมุ่งหมาย *ขอบคุผู้ช่วยเหลือ
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ บัญชีตาราง/ภาพประกอบ สารบัญ เป็นบัญชีบอกแต่ละบท หัวข้อสำคัญที่เรียงลำดับ ปรากฏอยู่หน้าใดในเล่ม บัญชีตาราง/ภาพประกอบ *แยกตารางและภาพประกอบ ว่ามีอะไรบ้างอยู่หน้าใด *ต้องกล่าวนำตาราง/ภาพประกอบก่อนว่าจะแสดงอะไร และต้องมีเลขกำกับ
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ บรรณานุกรม *จะอยู่ต่อจากบทสุดท้าย เป็นการบอกว่าผู้เขียนได้ศึกษาค้นคว้ามาจากที่ได้บ้าง ของใคร เมื่อไร *อ้างอิง นาม - ปี เอามาจากการอ้างอิงในเนื้อหา * ให้เอาภาษาไทยขึ้นก่อน และตามด้วยภาษาตางประเทศ
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ ภาคผนวก เป็นสิ่งที่ช่วยให้ผู้ค้นคว้าไดเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น ไม่ใช้เนื้อหาของงาน จะมีหรือไม่ แล้วแต่ความจำเป็น สิ่งสำคัญอยู่ที่เนื้อหา
ส่วนประกอบของรูปเล่มงานเชิงสังเคราะห์ ประวัติผู้เขียน เขียนประวัติอย่าย่อ ว่ามีความรู้ความชำนาญเชี่ยวชาญอย่างไร ทำให้ผลงานเป็นที่น่าเชื่อถือ ให้ผู้ศึกษาค้นคว้าติดต่อสอบถามเรื่องราวเพิ่มเติมได้
“นักสังเคราะห์ เป็นคนชอบความท้าทาย ชอบการเผชิญกับสิ่งใหม่ ๆ แสวงหาสิ่งใหม่ ๆ ไม่จับแพะชนแกะ ชอบความเชื่อมโยงอย่างมีเหตุและผล” “นักสังเคราะห์ที่ดี จะต้องสามารถเห็นความเหมือนกันท่ามกลางความแตกต่างที่เด่นชัดของสิ่งต่าง ๆ ที่นำมาเชื่อมโยงได้” แฮริสันและแบรมสัน 2002
ต้นไม้ ..ยังสังเคราะห์แสงเพื่อให้ได้พลังงานในการเติบโต.. คนเรา..ก็สามารถทำงานเชิงสังเคราะห์จากงานประจำ เพื่อความก้าวหน้าได้เช่นกัน..
สวัสดี ขอบคุณ