Rigid Body ตอน 2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
กฎอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้น (Law of Conservation of Linear Momentum)
การวิเคราะห์ความเร็ว
การวิเคราะห์ความเร่ง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
Application of Graph Theory
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
เมื่อแกนโลกเอียงจากเดิม 23
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Rigid Body ตอน 2

กฎข้อ 1 นิวตัน (เชิงเส้น) ถ้าแรงลัพธ์เป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่นิ่ง หรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เคลื่อนที่เป็นเส้นตรง ด้วยขนาดความเร็ว(อัตราเร็ว)คงที่

กฎข้อ 1 นิวตัน (เชิงมุม) ถ้าทอร์คลัพธ์ เป็นศูนย์ วัตถุจะอยู่นิ่ง หรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่ ทิศเหมือนเดิม และขนาด เท่าเดิม

ถ้า เปลี่ยน จะเปลี่ยน เพื่อให้ขนาด คงที่

กฎข้อ 2 นิวตัน(เชิงเส้น) ถ้าแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วไม่คงที่

กฎข้อ 2 นิวตัน(เชิงมุม) ถ้าทอร์คลัพธ์ ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะหมุน ด้วยความเชิงมุมไม่คงที่ หรือ มีความเร่งเชิงมุม อัตราเปลี่ยนโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุ เท่ากับทอร์คลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ

กรณีต่าง ๆ วัตถุมีแรงลัพธ์เป็นศูนย์ และทอร์คลัพธ์เป็นศูนย์ วัตถุมีแรงลัพธ์เป็นศูนย์ และทอร์คลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ วัตถุมีแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ และทอร์คลัพธ์เป็นศูนย์ วัตถุมีแรงลัพธ์ไม่เป็นศูนย์ และทอร์คลัพธ์ไม่เป็นศูนย์

มีแรงลัพธ์คงที่กระทำ ตามแกน +x ตลอดเวลา

การหมุนของลูกข่าง ถ้าลูกข่างมีรูปร่างสมมาตรและเนื้อสมมตร จะวางนิ่งตรงบนพื้นได้ โดยไม่ต้องหมุน เพราะขณะนั้น แรงลัพธ์เป็นศูนย์ และทอร์คลัพธ์เป็นศูนย์ แต่วางยากมาก ๆ และอยู่ไม่ถาวร

การหมุนของลูกข่าง ถ้าลูกข่างที่มีรูปร่างสมมาตรและเนื้อสมมตร ถูกหมุนด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ ลูกข่างจะวางตรงบนพื้นได้มั่นคงกว่าไม่หมุน เพราะเหตุใด

ขณะนี้แรงลัพธ์เป็นศูนย์ และทอร์ครวมเป็นศูนย์ เมื่อหมุนจะเกิดโมเมนตัมเชิงมุม ลูกข่างจึงต้องพยายามวางตัวให้โมเมนตัมเชิงมุมคงที่ ด้วยการประคองตัวเองให้วางตั้งบนพื้นมัน

ปกติลูกข่างจะมีเนื้อไม่สมมาตร จึงวางตรงนิ่งบนพื้นไม่ได้ เพราะขณะนั้นแม้ว่าแรงลัพธ์จะเป็นศูนย์ แต่ทอร์ครวมไม่เป็นศูนย์

ถ้าหมุนลูกข่าง ลูกข่างจะหมุนนิ่งดังรูปได้ แม้ว่าลูกข้างจะมีเนื้อไม่สมมาตร ถ้าหมุนเร็วมากๆ จะวางนิ่งได้นาน แต่ถ้าหมุนไม่เร็วมาก จะส่ายน้อย ๆ เพราะเหตุใด

ถ้าวางลูกข่างเอียง โดยไม่หมุน จะล้มแน่นอน เพราะแม้แรงลัพธ์ขณะนั้นเป็นศูนย์ แต่มีโมเมนต์หรือทอร์ค ให้ลูกข่างหมุนคว่ำลง เกิดทอร์ค พุ่งเข้าไป ตั้งฉากกับกระดาษ ทิศโมเมนต์

ถ้าวางลูกข่างเอียงและหมุนเร็วพอสมควร จะไม่ล้ม แต่ลูกข่างจะหมุนและส่ายไปรอบ ๆ