Phylum Cnidaria อ.แน็ต
Phylum Cnidaria สัตว์หลายเซลล์กลุ่มแรกที่มีเนื้อเยื่อแท้จริง เนื้อเยื่อมี 2 ชั้นคือ epidermis และ gastrodermis คั่นกลางด้วยชั้นวุ้น (mesoglea) สัตว์กลุ่มแรกที่มีระบบประสาท (nerve net) มีเซลล์พิเศษชื่อ cnidocyte Gastrovascular cavity ย่อยอาหาร มากกว่า 97% อยู่ในทะเล
Radial symmetry
Cnidarian Life Cycle
Cnidarian form Polyp form ทรงกระบอก โพรงกลางตัว Basal disc เป็นฐานยึดเกาะ Oral disc ช่องปากอยู่กึ่งกลางมี tentacle เรียงตัวอยู่รอบ
2. Medusa form คล้ายร่มหรือระฆังคว่ำ ด้านนอกโค้งเรียก exumbrella ด้านในเว้าเข้าเรียก subumbrella กึ่งกลางมีงวงยื่นเรียก manubrium ปลายเปิดเป็นช่องปาก (oral) ขอบถ้วยมี tentacle ยื่นออกมา
Cnidocyte เซลล์พิเศษมีหน้าที่ป้องกันตัวและจับอาหาร Cnidocil รับสัมผัส Nematocyst เป็น organelle ที่เซลล์สร้างขึ้น ประกอบด้วย capsule ที่มีฝาปิด (operculum) ภายในมีเส้นด้ายพิษขดอยู่
Cnidocyte Structure and Nematocyst Discharge
Nematocyst ใน Hydra Penetrant - ขนาดใหญ่ capsule รูปไข่ - ด้ายพิษแทงเข้าตัวเหยื่อ ปล่อยสารพิษให้เหยื่อเป็นอัมพาต
Penetrant
2. Volvent - ขนาดเล็ก capsule รูปไข่ - ด้ายพิษพุ่งเข้าพันตัวเหยื่อ ปลายด้ายปิด ไม่มีหนามบนด้าย 3. Streptoline glutinant - capsule ยาว ปลายด้ายเปิด ไม่มีหนามบนด้าย ใช้ยึด tentacle กับวัตถุเวลาเคลื่อนที่ 4. Stereoline glutinant - capsule รูปไข่ ด้ายพิษมีหนามเรียงเป็นชั้น ปลายด้ายเปิด
Volvent Glutinant
Glutinant Penetrant Volvent
หลังโดนเข็มพิษทันที หลังโดนเข็มพิษ 8 ชม. หลังโดนเข็มพิษ 1 วัน หลังโดนเข็มพิษ 2 วัน
หลังโดนเข็มพิษ 4 วัน หลังโดนเข็มพิษ 5 วัน หลังโดนเข็มพิษ 6 วัน หลังโดนเข็มพิษ 9 วัน
การกินและย่อยอาหาร Tentacle ส่งอาหารเข้าปาก อาหารเข้าสู่ gastrovascular cavity มีเซลล์ย่อยอาหาร การย่อยภายนอกเซลล์ มี enzymatic gland cell สร้างน้ำย่อยปล่อยมานอกเซลล์ การย่อยภายในเซลล์ มี nutritive cell กินอาหารที่ผ่านการย่อยขั้นต้นโดยวิธี engulfment
Nervous System Nerve cells กระจายทั่วร่างกายเป็น nerve net
Class Hydrozoa ส่วนใหญ่พบในน้ำเค็ม น้ำจืดมีประมาณ 20 ชนิด ส่วนใหญ่พบในน้ำเค็ม น้ำจืดมีประมาณ 20 ชนิด Cnidocyte มีใน epidermis เท่านั้น รูปร่างพบได้ทั้ง 2 แบบ Hydromedusa มีเยื่อบางที่ด้านในขอบถ้วยเรียกว่า velum Mesoglea เป็นชั้นบางๆ Asexual reproduction โดย budding Sexual reproduction สร้าง gamete แล้วปล่อยสู่แหล่งน้ำ
Hydra Body Wall Gastrovascular cavity Gastrodermis Mesoglea Epidermis
Endodermis (gastrodermis) Epidermis Mesoglea Endodermis (gastrodermis)
(hypostome)
Chlorohydra viridissima endosymbiont โดย zoochlorellae ในชั้น gastrodermis
Class Hydrozoa Hydra Encapsulated embryo Ovaries Budding Spermaries Sexual cycle Asexual cycle
Bud
Male gonad
Female gonad
Hydra x.s.
Obelia อาศัยอยู่ในทะเล เป็น colonial hydroid - hydrorhiza ยึดเกาะกับพื้น แตกแขนงออกคล้าย รากต้นไม้ - hydrocaulus งอกขึ้นมาจาก hydrorhiza - coenosarc มีชีวิต คือชั้น epidermis และ gastrodermis - perisarc ไม่มีชีวิต เป็นสาร chitin ที่ epidemis สร้างขึ้น
Polyp มี 2 ชนิดคือ 1. Hydranth เป็น feeding polyp คล้ายไฮดราขนาดเล็ก มี tentacle จำนวนมาก 2. Gonangium งอกจากมุมก้าน hydranth กับ hydrocaulus เป็น reproductive polyp - blastostyle - medusa bud - gonotheca และ gonopore
ทดสอบ
Hydromedusa ขอบด้านในของถ้วยมี velum Gastrovascular cavity เป็นท่อ 4 ท่อแยกจาก manubrium ตามแนว radial canal ปลาย radial canal เชื่อมต่อกันเป็นท่อวงแหวน (ring canal) Gonad 4 ก้อนจาก epidermis มีตำแหน่งอยู่ใต้ radial canal (Obelia ไม่มี velum)
Obelia (ไม่มี velum)
Obelia medusa
Class Hydrozoa Gonionemus
Class Hydrozoa Physalia spp. Hydroid ชนิด polymorphic colony Pneumatophore เปลี่ยนแปลงจาก ectoderm ในระยะตัวอ่อน มี gas gland สร้างแก๊ส Coenosarc งอก polyp เป็นกลุ่ม (cormidia) Cormidia ประกอบด้วย polyp มากกว่า 2 ชนิด และมีหน้าที่แตกต่างกัน
Cormidia แต่ละกลุ่มมีชนิดของ polyp ดังนี้ 1. Dactylozooid อยู่ด้านนอก cormidia รูปทรงกระบอก ไม่มีปาก หนวด 1 เส้นยาวคล้ายริบบิ้นและมี cnidocyte จำนวนมากบนหนวด ใช้ป้องกันตัวและจับเหยื่อ 2. Gastrozooid รูปทรงกระบอก มีช่องปากตรงปลาย ไม่มีหนวด เกี่ยวข้องกับการกินอาหาร 3. Gonozooid แตกแขนงคล้ายพืช บนแขนงมี medusa ทั้ง 2 เพศ เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์
Polyp
Class Hydrozoa Porpita spp. colony เป็นทุ่นลอยกลมแบน ใต้ทุ่นมี polyp 3 แบบคือ - gastrozooid ตรงกลาง - gonozooid รอบ gastrozooid - dactylozooid ขอบทุ่นลอย
Class Hydrozoa Craspedacusta sowerbyi แมงกะพรุนน้ำจืด มีรายงาน 5 จังหวัด ได้แก่ เพชรบูรณ์ มุกดาหาร เลย อุบลราชธานี และหนองคาย พบได้ช่วงหน้าแล้ง บริเวณริมฝั่งแม่น้ำ ที่เป็นแอ่งน้ำสงบนิ่ง ประเทศไทยพบเป็นลำดับที่ 6 ของโลก
Class Scyphozoa อยู่ในทะเลทั้งหมด รูปร่างหลักเป็นแบบ medusa Gamete สร้างจากชั้น gastrodermis Scyphomedusa ไม่มี velum Cnidocyte อยู่ใน epidermis และ gastrodermis Mesoglea เป็นชั้นหนา Statocyst ช่วยทรงตัว
Statocyst Ephyra stage
Aurelia sp. Manubrium แตกออก 4 แขนงเป็น oral arm ต่อจากปากเป็น gastric pouch 4 ถุง มี gonad รูปเกือกม้าอยู่ที่ขอบ Gastric pouch แต่ละถุงมี radial canal แยกไปยังขอบรูปถ้วย Radial canal สามารถแตกย่อยเป็นท่อจำนวนมาก (Ring canal มีเฉพาะ Aurelia) Dioecious และปฏิสนธิในตัวแม่
Aurelia Life Cycle
Aurelia Mesoglea Eggs Gastrovascular cavity Mouth
Aurelia Oral arm Mouth Gastric pouch
Class Cubozoa Box jellyfish รูปร่างหลักเป็นแบบ medusa แต่มีรูปร่างคล้ายกล่องสี่เหลี่ยม และไม่มี velum หนวดยื่นออกมาจากมุมทั้งสี่รูปร่างคล้ายแผ่นใบมีด(pedalium) อาศัยอยู่ในทะเลทั้งหมด และสามารถว่ายน้ำได้ดี Cnidocyte มีสารพิษที่รุนแรงมาก
Class Cubozoa Gonad Pedalium Tentacle Copy and paste URL to link to original images at BIODIDAC http://biodidac.bio.uottawa.ca/thumbnails/filedet.htm?File_name=cubo001b&File_type=GIF
Class Anthozoa มีรูปร่างแบบ polyp ทั้งหมด ดำรงชีวิตแบบ solitary หรือ colony บางชนิดสร้างโครงร่างแข็ง Gastrovascular cavity แบ่งเป็นห้องๆ อยู่ในทะเลทั้งหมด
Class Anthozoa
Class Anthozoa Metridium Tentacle Mouth Pharynx Septum Gastrovascular cavity
Symbiosis
Class Anthozoa Stony coral สร้างโครงร่างแข็งพวก CaCO3 ส่วนใหญ่เป็น colony ยกเว้น Fungia อาศัยร่วมกับสาหร่าย zooxanthellae ถูกรบกวนจะหดตัว
Class Anothozoa Corals
Class Anothozoa Sea Fan Endoskeleton แท่งแกนเป็น สาร gorgonin รอบแกนมี CaCO3 spicule สีสันเป็นของ spicule
Class Anthozoa Sea Whip
Endoskeleton มี spicule กระจายในเนื้อเยื่อ Soft coral Endoskeleton มี spicule กระจายในเนื้อเยื่อ
Class Anthozoa Sea Pen Axial polyp ยาว ด้านข้างแตกหน่อให้ polyp ใหม่ เกิดแขนงยื่นทางด้านข้าง polyp ปลายแขนงมีอายุมากที่สุด