Hepatic Portosystemic shunt in canine

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PCT ศัลยกรรม น.พ.วริษฐ์ คลอวุฒิวัฒน์
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
FOOD PYRAMID.
น้ำหนักตัวเกิน กินอาหารให้พลังงานมากเกินไป อยู่ในภาวะขาดสารอาหาร
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ทบทวนการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ครั้งที่ 1
CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
สารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน น้ำมันพืชและไขมันสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การขับถ่ายของเสีย (Excretion)
สุขาภิบาลอาหารและโภชนาการ
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
Thailand Research Expo
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ไข้เลือดออก ( Denque hemorrhagic fever )
Management of Pulmonary Tuberculosis
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคท้องขึ้น (Bloat) เป็นโรคที่พบบ่อยในสัตว์เคี้ยวเอื้อง ซึ่งมี 4 กระเพาะเนื่องจาก กระเพาะที่ 1 (รูเม็น) มีการ สร้างแก๊ส ทำให้เกิดท้องขึ้น โดยกระทันหันและผลิตสาร.
แนวทางการปฏิบัติ การจัดการน้ำหนักและรอบเอว
Myasthenia Gravis.
แนวทางการจัดการข้อมูลโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) ธัญภา จันทร์โท กลุ่มโรคไม่ติดต่อ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
การควบคุมน้ำหนัก เป็นการรักษาสุขภาพให้แข็งแรง และทำได้ไม่ยาก ถ้าเข้าใจ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เตรียมตัวอย่างไร ปลอดภัยจากการใช้รังสี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
Dip.Thai Broad Preventive Medicine
โรคติดต่อทางพันธุกรรม
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
โรคเบาหวาน Diabetes.
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
Thyroid gland.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
การเจริญเติบโตของพืช
กำมะถัน (Sulfur).
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การลงบันทึกผลการตรวจสุขภาพ
SEPSIS.
ผศ.นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย
SELENIUM ซีลีเนียม.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Hepatic Portosystemic shunt in canine Group 1 Hepatic Portosystemic shunt in canine

Portosystemic Shunt เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดดำในช่องท้อง เกิดการเชื่อต่อระหว่าง Portal vein กับ Systemic circulation โดยไม่ผ่านตับ ทำให้เซลล์ตับไม่สามารถเผาผลาญสารอาหาร และสารพิษในระบบได้

1.เป็นแหล่ง metabolism ของสารอาหาร สารพิษและ xenobiotics ต่างๆ หน้าที่ของตับ 1.เป็นแหล่ง metabolism ของสารอาหาร สารพิษและ xenobiotics ต่างๆ 2.เปลี่ยนแอมโมเนียให้เป็นยูเรีย 3.ผลิตน้ำดี 4.Vitamin D metabolism 5.เก็บสะสมวิตามินและแร่ธาตุ เช่น เหล็ก 6.กระบวนการเปลี่ยนแปลงและกำจัด bilirubin

ระบบไหลเวียนเลือดในตับ

Portosystemic shunt (PSS) แบ่งได้ 2 ประเภท คือ - Congenital (primary) portosystemic shunt - Acquired (secondary) portosystemic shunt

ระบบหมุนเวียนเลือดของตับในตัวอ่อน

- Congenital (primary) portosystemic shunt Intrahepatic portosystemic shunt Extrahepatic

- Acquired (secondary) portosystemic shunt เป็นผลจากการพยายามปรับสมดุลของความดันใน portal vein ที่สูงขึ้น โดยการสร้างเส้นเลือดใหม่ขึ้นมาแทน สาเหตุที่ทำให้ความดันใน portal vein สูงขึ้น เช่น Chronic Hepatitis Hepatic Injury Hepatic fibrosis Hepatic A-V fistula Veno-occlusive disease (VOD)

ผลกระทบ - อาการทั่วไป ได้แก่ poor growth, weight loss, fever, anesthesia - ระบบประสาทส่วนกลาง พบลักษณะของอาการ hepatic encephalopathy เช่น head pressing, ataxia, depression, circling, seizure - ระบบทางเดินอาหาร ทำให้เกิด anorexia, diarrhea, vomit, ptyalism ซึ่งเป็นผลมาจาก hepatic dysfunction - ระบบทางเดินปัสสาวะ ทำให้เกิด Polyuria , Polydipsia , Cystitis นอกจากนี้อาจพบตะกอนในปัสสาวะ ชนิด ammonium biurate หรือ urate

Hepatic encephalopathy (HE)

การวินิจฉัย - Clinical sign - Serum chemistry - Urinalysis - Radiography Operative mesentery portography Ultrasound Scintigraphy

การรักษา 1.การรักษาทางอายุรกรรม (medical management) เป็นการรักษาโดยการให้ยาและควบคุมอาหาร อาจใช้เวลา 6-8 สัปดาห์ในการรักษา 2.การรักษาทางศัลยกรรม (surgical management) 2.1 Partial ligation (narrowing) เป็นการทำให้ shunts แคบลงหรือเกิดการปิดหลอดเลือด 2.2 Full ligation (tying off) เป็นการผ่าตัดที่ทำให้ทางลัดเลือดหมดไป ทำได้ดังนี้ ใช้การฉีด special glue หรือ suture material เข้าทาง Route IV ใช้การผ่าตัดโดยใส่ Cellophane band, Transvenous coiling หรือ Ameroid constrictor

Ameroid constrictor

กรณีศึกษา : Portosystemic venous shunt with Hepatic atrophy สุนัขเพศเมีย พันธุ์ Lhasa Apso อายุ 5 ปี ทำหมัน มีอาการซึม อ่อนแรง เดินเซ เบื่ออาหาร ชัก PU/PD ฉายรังสี พบว่า สีของตับจาง

Hematology Case Normal (Dog) HCT 39.1 % 37-55 Hb 13.7 g/dl 12-18 RBC 6.90 x/µl 5.5-8.5 MCV 57 L fl 58-79 MCH 19.9 pg 16.5-25.5 Pg MCHc 35.0 30-38 Retic ND RBC morphology Codocyte Platelets 237 170-400 WBC 9.8 6-18 Seg 7.548 (77%) 3.5-11.5 *Band 0.588 (5%) 0.0-0.3 Lymph 1.176 (12%) 1-4.8 *Mono 0.098 (1%) 0.5-1.35 Eos 0.392 (4%) 0.01-1.25 Baso 0.098 0.0-0.15 WBC morphology Normal

Serum Chemistry Case Normal (Dog) *BUN 2 mg/ml 6-25 Creatinine 0.4 0.5-1.6 *Total protein 3.7 g/dl 5-7.4 *Albumin 1.1 2.7-4.4 *A/G ratio 0.43 0.8-2 *ALP 181 U/L 10-150 *ALT 122 5-107 *Glucose 52 mg/dl 70-138 mol/L Sodium 145 mmol/L 139-154 Potassium 4.1 3.6-5.5 Chloride 118 102-120 Total CO2 21 17-24 Anion gap 5 8-25 *Calcium 8.2 8.9-11.4 Phosphorus 2.5-6.0 *Total bilirubin 0.9 0.0-0.4

Ammonium biurate crystals Serum Chemistry Case Normal (Dog) *Bile acid (fast) 18.6 µmol/L <15 *Bile acid (post) 246.1 <25 *NH₃ (fast) 438 µg/dl 15-45 *Cholesterol 45 mg/dl 92-324 Urinalysis Case Normal (Dog) Urine source Cystocentesis *Color Straw Clear yellow Turbidity Clear *Sp Gr 1.006 1.008-1.045 *pH 8.0 5.2-6.8 *Protein 1+ None Glucose Ketone *Bilirubin 3+ Blood *Sediment Ammonium biurate crystals

อาการผิดปกติที่พบในสุนัขตัวนี้ Hepatic insufficiency Hypoglycemia Hypoprotienemia Hypoalbuminemia Decrease A/G ratio Fasting hyperammonemia & Decrease BUN Increase bile acid concentration Hypocholesterolemia Hypocalcemia Hyposthenuria Ammonium biurate crystalluria Proteinuria Hyperbillirubiemia Billirubinuria Mildly increase ALP activity Increase ALT activity Microcytosis

1.Hepatic insufficiency a) Hypoglycemia (Glucose 52 mg/dl ปกติ 70-138 mg/dl)

b) Hypoproteinemia, Hypoalbuminemia and decreased A/G ratio  -Total Protien 3.7 g/dl (ปกติ 5-7.4 g/dl) -Albumin 1.1 g/dl (ปกติ 2.7-4.4 g/dl) -A/G ratio 0.43 (ปกติ 0.8-2) Portosystemic shunt Portal hypertension Reduce albumin Hydrostatic pressure oncotic pressure Transudation of fluid Ascite

c) Fasting Hyperammonemia and decreased BUN -NH3 (fast) 438 μg/dl (ปกติ 15-45 μg/dl) -BUN 2 mg/ml (ปกติ 6-25 mg/ml)

d) Increase bile acid concentration -Bile acid (fast) 18.6 μmol/L (ปกติ < 15 μmol/L) -Bile acid (post) 246.1 μmol/L (ปกติ < 25 μmol/L)

e) Hypocholesterolemia (45 mg/dl ค่าปกติ 92-324 mg/dl)

2.Hypocalcemia (Calcium 8.2 mg/dl ปกติ 8.9-11.4 mg/dl) เกิดได้จากหลายสาเหตุแบ่งเป็น 1)albumin เป็น protein –bound calcium 2)Active vitamin D

3.Hyposthenuria (ค่าความถ่วงจำเพาะ 1.006 จากปกติ 1.008-1.045 )

4.Ammonium biurate crystalluria

5.Proteinuria (Protein +1 ปกติ none)

(Total Bilirubin 0.9 mg/dl ปกติ 0.0-0.4 mg/dl) 6.Hyperbilirubinemia (Total Bilirubin 0.9 mg/dl ปกติ 0.0-0.4 mg/dl)

7.Bilirubinuria (Bilirubin 3+ ปกติ none)

(122 U/L ปกติ 5-107 U/L) 8.Mildly increased ALP activity 9.Increased ALT activity (122 U/L ปกติ 5-107 U/L)

10.Microcytosis (MCV 57 L fl ปกติ 58-79 L fl และ รูปร่างของเม็ดเลือดแดงที่เปลี่ยนเป็น Codocyte)

THANKS for your attention จากการที่สัตวแพทย์ยืนยันการวินิจฉัยด้วยการ Liver Biopsy พบ Heptic cord atrophy ร่วมกับ microvascular dysplasia สัตว์ป่วยรายนี้มีภาวะ Extrahepatic Portovenous shunt โดยคาดว่ามี 3 สาเหตุคือ 1) Acquired PSS:เกิด hepatic fibrosis เหนี่ยวนำให้เกิด ภาวะ Shunt ร่วมกับ cholestasis 2) Acquired PSS:เกิด Cholestasis จากการอุดตันทางเดิน น้ำดี ทำให้เกิดการทำลายเซลล์ตับ เกิดเป็น hepatic fibrosis 3) Congenital PSS:เกิด shunt ต่อมาอาจได้รับ Toxin เช่น แอลกอฮอล์ ทำให้เกิด hepatic fibrosis และ cholestasis ตามมา THANKS for your attention