Principles of Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.
Department of Computer Business
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Structure Programming
Array.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
ARRAY.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรในภาษา JavaScript
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
โปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
อาร์เรย์ (Arrays).
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

02739211 Principles of Programming อาร์เรย์ (Arrays) 02739211 Principles of Programming

02739211 Principles of Programming หัวข้อ ตัวแปรอาร์เรย์ อาร์เรย์หนึ่งมิติ (One Dimension Arrays) อาร์เรย์สองมิติ (Two Dimension Arrays) 02739211 Principles of Programming

02739211 Principles of Programming อาร์เรย์ 2 มิติ มีลักษณะเหมือนเมตริกซ์ ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ การอ้างอิงชื่ออาร์เรย์ จะรู้ตำแหน่งที่อยู่ที่ใช้จัดเก็บอิลิเมนท์ตัวแรก การอ้างอิงค่าตัวแปรภายในอาร์เรย์จะใช้ Subscript หรืออาจเรียกว่า Index เช่น data[2][3] เป็นการอ้างถึงตัวแปร data ในตู้หน่วยความจำแถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 3 (ตู้แรกแถวที่ 0 คอลัมน์ที่ 0) 02739211 Principles of Programming

การประกาศตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ รูปแบบ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนแถว] [จำนวนคอลัมน์]; จำนวนแถวและคอลัมน์ เป็นจำนวนเต็มบวก อาจเป็นค่าคงที่หรือ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เช่น int data[4] [5]; ประกาศตัวแปรอาร์เรย์2มิติชนิดจำนวนเต็มชื่อ data ให้มี แถว คอลัมน์ มี subscript จาก [ ][ ] ถึง [ ][ ] ได้แก่ data[ ][ ] data[ ][ ] … data[ ][ ] 02739211 Principles of Programming

ตู้หน่วยความจำของอาร์เรย์ data[4][5] … data[3][0] data[3][1] data[3][2] data[3][3] data[3][4] Row 0 Row 3 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการประกาศตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ main() { int size = 3; int number[2][3]; float score[size+2][size-1]; … } 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ เขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าคะแนน 3 วิชาของนักศึกษา 5 คนมาเก็บไว้ในอาร์เรย์สองมิติ 5 แถว 3 คอลัมน์ หาผลรวมคะแนน พิมพ์รายงานออกหน้าจอ 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ main() { int i,j,total=0; int sc[5][3]; printf(“\nInput score of Math, Science and Physics\n\n”); for(i=0;i <5 ;i++) { printf(“Student # %2d :: ”,i+1); scanf(“%d %d %d”,&sc[i][0],&sc[i][1],&sc[i][2]); } printf(“\n\nSeq.\tMath \tSCI \tPhy \tTotal\n”); Printf(“**************************************\n”); for(j=0;j<5;j++) { total = sc[j][0]+sc[j][1]+sc[j][2]; printf(“%2d\t %2d \t %2d \t %2d \t%2d\n”,j+1,sc[j][0], sc[j][1], sc[j][2],total); } printf(“\n”); getch();} 02739211 Principles of Programming

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ ][ ] = { {r0c0,r0c1,r0c2,…,r0cn}, {r1c0,r1c1,r1c2,…,r1cn}, {…}, {rmc0,rmc1,rmc2,…,rmcn}}; 02739211 Principles of Programming

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ เช่น char vowel [2][5] = {{ ‘a’, ‘e’, ‘i’, ‘o’, ‘u’}, { ‘A’, ‘E’, ‘I’, ‘O’, ‘U’}}; เป็นการกำหนดตัวแปร array ของอักขระ (char) ชื่อ vowel ให้มี 2 แถว 5 คอลัมน์ พร้อมกับกำหนดค่าเริ่มต้นให้เป็น a, e, i, o, u ,A,E,I,O,U ตามลำดับ 02739211 Principles of Programming

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ vowel[0][0] vowel[0][1] vowel[0][2] vowel[0][3] vowel[0][4] vowel[1][0] vowel[1][1] vowel[1][2] vowel[1][3] vowel[1][4] 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นตัวแปรอาร์เรย์ เขียนโปรแกรมเพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์จำนวนเต็มบวกสองมิติ 4 แถว 5 คอลัมน์ พิมพ์ค่าทั้งหมดออกหน้าจอตามลำดับ 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นตัวแปรอาร์เรย์ main() { int i,j; int c[4][5] = { {1,2,3,4,5}, {6,7,8,9,10}, {11,12,13,14,15}, {16,17,18,19,20} }; printf(“ Col-0 Col-1 Col-2 Col-3 Col-4\n"); printf(“ +-------------------------------------------------------+\n"); for(i=0;i <4 ;i++) { printf(“\nRow-%d : ”,i); for(j=0;j<5;j++) printf(“\t%2d”,c[i][j]); } printf(“\n”); getch();} ผลลัพธ์ 02739211 Principles of Programming