Principles of Programming

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Arrays.
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Structure Programming
Array.
ARRAY.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โจทย์ Array 12 มี.ค จงเขียนโปรแกรมเพื่ออ่านข้อมูลเข้าเป็นจำนวนเต็ม 10 จำนวน แล้วหาผลรวมของเลขเหล่านั้น.
อาเรย์ (Array).
คำสั่งควบคุมการทำงาน
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 5 คำสั่งควบคุมการทำซ้ำ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ตัวดำเนินการในภาษาซี
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
อาร์เรย์ (Arrays).
บทที่ 6 โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น
Output of C.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

02739211 Principles of Programming อาร์เรย์ (Arrays) 02739211 Principles of Programming

02739211 Principles of Programming หัวข้อ ตัวแปรอาร์เรย์ อาร์เรย์หนึ่งมิติ (One Dimension Arrays) อาร์เรย์สองมิติ (Two Dimension Arrays) 02739211 Principles of Programming

02739211 Principles of Programming อาร์เรย์ (Arrays) เป็นตัวแปรที่ใช้จัดเก็บค่าตัวแปรประเภทเดียวกันได้หลาย ๆ ค่า เป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดหนึ่ง ที่มีการจัดเก็บแบบแถวลำดับ การอ้างอิงชื่ออาร์เรย์ จะรู้ตำแหน่งที่อยู่ที่ใช้จัดเก็บอิลิเมนท์ตัวแรก การอ้างอิงค่าตัวแปรภายในอาร์เรย์จะใช้ Subscript หรืออาจเรียกว่า Index เช่น score[3] เป็นการอ้างถึงตัวแปร score ในตู้หน่วยความจำหมายเลข 3 (ตู้แรกหมายเลข 0) 02739211 Principles of Programming

การประกาศตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ รูปแบบ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนอิลิเมนท์]; จำนวนอิลิเมนท์ เป็นจำนวนเต็มบวก อาจเป็นค่าคงที่หรือ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เช่น int score[45]; ประกาศตัวแปรอาร์เรย์ชนิดจำนวนเต็มชื่อ score ให้มี 45 อิลิเมนท์ มี subscript จาก 0 ถึง 44 (45-1) ได้แก่ score[0] score[1] … score[44] 02739211 Principles of Programming

ตู้หน่วยความจำของอาร์เรย์ score[45] … score[43] score[44] 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการประกาศตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ ตัวแปร/ค่าคงที่ main() { int size = 5; int number[size]; float score[size*2]; … } นิพจน์คณิตศาสตร์ 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ เขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าจำนวนเต็มบวก 5 จำนวน โดยประกาศตัวแปรสำหรับรับค่าเพียง ตัวแปรเดียว พิมพ์ค่าที่รับมาทั้งหมดออกหน้าจอตามลำดับ หาผลรวมแล้วพิมพ์ออกหน้าจอ หาค่าเฉลี่ยแล้วพิมพ์ออกหน้าจอเป็นทศนิยม 2 ตำแหน่ง 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ กำหนด array c ตัวเดียว สำหรับรับค่า int 5 อิลิเมนท์ แทนที่จะกำหนดตัวแปร int 5 ตัว main() { int sum=0; int c[5]; float average=0.0; printf("\n Enter 5 positive integers: (use a space between each number)\n"); scanf("%d %d %d %d %d",&c[0],&c[1],&c[2],&c[3],&c[4]); printf("\n"); for(int i=0;i <=4 ;i++) { printf("Element %d = %d\n",i,c[i]); sum += c[i]; } average = sum/5; printf("\n\n Sum of the five element is : %d",sum); printf("\n Average of the five number is : %.2f",average); getch(); ผลลัพธ์ 02739211 Principles of Programming

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ รูปแบบที่ 1 (กำหนดจำนวนอิลิเมนท์) ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนอิลิเมนท์] = {ค่าที่1,ค่าที่2,ค่าที่3,...,ค่าที่n}; เช่น char vowel [5] = { ‘a’, ‘e’, ‘i’, ‘o’, ‘u’}; เป็นการกำหนดตัวแปร array ของอักขระ (char) ชื่อ vowel ให้มี 5 อิลิเมนท์ พร้อมกับกำหนดค่าเริ่มต้นให้เป็น a, e, i, o, u ตามลำดับ ค่าข้อมูลในแต่ละอิลิเมนท์ vowel[0] vowel[1] vowel[2] vowel[3] vowel[4] a e i o u 02739211 Principles of Programming

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์หนึ่งมิติ รูปแบบที่ 2 (ไม่กำหนดจำนวนอิลิเมนท์) ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[] = {ค่าที่1,ค่าที่2,ค่าที่3,...,ค่าที่n}; เช่น char vowel [] = { ‘a’, ‘e’, ‘i’, ‘o’, ‘u’}; เป็นการกำหนดตัวแปร array ของอักขระ (char) ชื่อ vowel ไม่ระบุจำนวนอิลิเมนท์ แต่กำหนดค่าเริ่มต้นให้เป็น a, e, i, o, u ตามลำดับ ค่าข้อมูลในแต่ละอิลิเมนท์ vowel[0] vowel[1] vowel[2] vowel[3] vowel[4] a e i o u 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นตัวแปรอาร์เรย์ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าอักขระ 5 ตัว ที่กำหนดค่าเริ่มต้นให้แก่อาร์เรย์ไว้แล้ว พิมพ์ออกหน้าจอ รอบแรกพิมพ์ตามลำดับจากหน้าไปหลัง รอบที่สองพิมพ์กลับลำดับจากหลังมาหน้า 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปรอาร์เรย์ 1 ประกาศ array letter[5] พร้อมกำหนดค่าเริ่มต้น main() { char letter[5]={'A','B','C','D','E'}; { printf("***** Value of letter[] in forward order *****\n"); for(int i=0;i<=4;i++) printf("The element number %d is : %c\n",i,letter[i]); printf("\n\n##### Value of letter[] in reverse order #####\n"); for(int j = 4;j>=0;j--) printf("The element number %d is :%c\n",j,letter[j]); getch(); } ผลลัพธ์ 02739211 Principles of Programming

ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปรอาร์เรย์ 2 ประกาศ array letter[] พร้อมกำหนดค่าเริ่มต้น main() { char letter[]={'A','B','C','D','E'}; { printf("***** Value of letter[] in forward order *****\n"); for(int i=0;i<=4;i++) printf("The element number %d is : %c\n",i,letter[i]); printf("\n\n##### Value of letter[] in reverse order #####\n"); for(int j = 4;j>=0;j--) printf("The element number %d is :%c\n",j,letter[j]); getch(); } ผลลัพธ์ 02739211 Principles of Programming

02739211 Principles of Programming Quiz 02739211 Principles of Programming