การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

การพูด.
ไดอะล็อค : สุนทรียสนทนา
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การสัมภาษณ์ อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
การให้คำปรึกษา ผศ.ดร.สมบัติ ตาปัญญา ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
นิยาม Reflection กระบวนการสะท้อนความคิด (a metacognitive process)
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
EQ หลักสูตร การบริหารอารมณ์ สู่การทำงานอย่างมืออาชีพ
ทักษะและเทคนิคการสอน Teaching Skills and Techniques
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ตัวชี้วัด รายวิชา อ ต 1.1 ม.2/1 ปฏิบัติตามคำขอร้อง คำแนะนำ คำ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ ชี้แจง และคำอธิบาย ง่าย ๆ ที่ฟังและ อ่าน อ่าน.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
วิธีการทางสุขศึกษา.
เทคนิคการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การสื่อสารเพื่อการบริการ
การสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
ภาษาทางสื่อวิทยุกระจายเสียง
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ อาจารย์จิตรลดา วัฒนาพรรณกิตติ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
บทนำ บทที่ 1.
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความต้องการของวัยรุ่น และ การให้คำปรึกษาวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Communities of Practice (CoP)
เทคนิคการพูดและการนำเสนอ
ศิลปะการพูดในที่ชุมชน
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ภาระหน้าที่ของFacilitator
เทคนิคการเป็น Facilitator ที่ดี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
( Human Relationships )
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การฟังเพลง.
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
เอกสารประกอบวิชาการอ่าน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเรื่องการอ่าน
ความหมายของการวิจารณ์
วาทนิเทศและเทคนิคการนำเสนอ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
การพูด.
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
เทคนิคการให้คำปรึกษา
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
การเขียนรายงานผลการวิจัย
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การผลิตรายการโทรทัศน์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
รายงานผลการวิจัย.
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
การทำงานเป็นทีม การทำงานเป็นทีม หมายถึง กลุ่มคนที่ต้องมาทำงานร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างเดียวกันและเป็นการรวมตัวกัน โดยอาศัยความรู้ ความเข้าใจ ความผูกพัน.
การนำเสนอสารด้วยวาจา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดต่อสื่อสาร สร้างสรรค์ประโยชน์ สร้างความประทับใจที่ดี สร้างความเข้าใจอันดี  สร้างภาพพจน์ที่ดี  สร้างความสำเร็จร่วมกัน เทคนิคพูดเชิงบวก เทคนิคพูดจูงใจ

ก า ร สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ข่าวสาร ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร การพูดทวนซ้ำจากสิ่งที่ได้ยิน โดยรับและเก็บข้อมูลไว้ ครบถ้วนทุกกระบวนความ ผู้ส่งสาร ผู้รับสาร ความเข้าใจ การแปลความหมายของ ถ้อยคำได้อย่างถูกต้อง ข่าวสารที่ส่งประกอบ ด้วยข้อเท็จจริงอะไรบ้าง วิธีการนำเสนอข่าวสาร เวลาพูดคนฟังจะมองด้านนี้ด้วย การยอมรับ การแสดงให้ผู้ส่งสารว่าสารที่ส่ง มานั้นเป็นที่เข้าใจของผู้รับ การเปิดเผยตนเอง ด้านที่เป็นข้อเท็จจริง การร้องขอ (Appeal) ผู้สื่อสารเสนอ (PRESENT)ตนเอง ในขณะส่งสารอย่างไร ข่าวสาร ผู้ส่งสารต้องการบรรลุ วัตถุประสงค์อะไร มีส่วนที่เป็นจิตใต้สำนึก สิ่งที่ผู้ส่งสารเปิดเผย เกี่ยวกับตนเอง ด้านที่แสดงความสัมพันธ์ ผู้รับควรทำ คิด หรือ รู้สึกอย่างไร สารที่ส่งบอกอะไรบ้าง เกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ ผู้ส่งสารปฏิบัติต่อ ผู้รับสารอย่างไร

กิจกรรมฝึกทักษะในการฟัง

Style ของการฟัง Think About คิดเกี่ยวกับผู้พูด คิดโต้แย้งผู้พูด Think Against คิดโต้แย้งผู้พูด คิดเผื่อผู้พูด Think For Think With คิดไปพร้อม ๆ กับผู้พูด

อุปสรรคของการฟัง คำบางคำให้ความหมายชัดเจน บางคำคลุมเครือ ความเข้าใจขึ้นกับการตีความ/ ประสบการณ์เดิมของผู้ฟัง ความมีสมาธิของผู้ฟัง

อุปสรรคของการฟัง ความช้าเร็วในการพูด อุปสรรคด้านภาษา ความดังค่อยของเสียงที่พูด การด่วนสรุป/สรุปเร็วเกินไป

ควรปรับปรุงอย่างไร? กรณีเราเป็นผู้ส่งสาร กรณีเราเป็นผู้รับสาร

ปัจจัยความสำเร็จของผู้พูด 1. ทำความเข้าใจกับผู้รับข่าว 2. ทำให้เป็นเรื่องง่าย 3. ตรงประเด็น 4. สร้างความมั่นใจให้ตัวเอง

การฟังอย่างมีประสิทธิภาพ มองเห็นโลกหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างที่ ผู้พูดมองและคิดเหมือนที่เขาคิด ไม่คำนึงถึงความคิดของตัวเราเอง จนกว่าจะแน่ใจว่าเราเข้าใจเขาอย่างแท้จริง ทำให้ผู้พูดรู้สึกว่า ผู้ฟังเข้าใจในความรู้สึกของเขา ยอมรับเขา ไม่ว่าเขาจะพูด จะคิดหรือเป็นอย่างไร

ประโยชน์ของ Active Listening ได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพิ่มเติมมากขึ้น เคารพความคิดกันและกัน  ฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ฟังและรับแนวคิดใหม่ๆ  สร้างสัมพันธภาพความไว้วางใจ ซึ่งกันและกัน ผู้พูดพัฒนาความคิดและ แนวทางการแก้ปัญหาด้วยตนเอง  ระงับการใช้อารมณ์ในการสนทนา

คำพูด น้ำเสียง (Verbal part) แววตา สีหน้า ท่าทาง (Non-verbal part) ทักษะการฟัง ต้องสนใจฟังอะไรบ้าง ? คำพูด น้ำเสียง (Verbal part) แววตา สีหน้า ท่าทาง (Non-verbal part)

สิ่งที่ต้องได้ในการฟัง เนื้อหาสาระ (Content) สิ่งที่ต้องได้ในการฟัง อารมณ์ ความรู้สึก (Emotion)

การฟังอย่างใส่ใจ ลักษณะ การฟังที่ดี มีสมาธิ ตั้งใจฟัง ลักษณะ การฟังที่ดี การฟังอย่างใส่ใจ มีสมาธิ ตั้งใจฟัง สนใจติดตามเรื่องราว มีการแสดงออกอย่างสอดคล้อง กับเรื่องราวที่ฟัง มีการแสดงออกตอบรับเรื่องที่ฟัง

ทักษะการสังเกต ทักษะการใส่ใจที่กระทำ เพื่อรับรู้พฤติกรรมต่างๆ ที่ แสดงออกมา และแปลความหมายเหล่านี้เป็นคำพูดให้ รับรู้ เข้าใจ และเกิดความกระจ่างในปัญหาของตนเองมากขึ้น

สิ่งที่ต้องสังเกต  กิริยาท่าทาง  คำพูด ภาษาที่ใช้  กิริยาท่าทาง  คำพูด ภาษาที่ใช้  ความขัดแย้งในคำพูด  ความขัดแย้งระหว่างคำพูด กับพฤติกรรม

ทักษะการสังเกต สังเกต 1.1 พฤติกรรม : ท่านั่ง สีหน้า น้ำเสียง การเคลื่อนไหวของมือ ฯลฯ 1.2 คำพูดและภาษาที่ใช้ : เรื่องราว /ประเด็นที่เน้น

ทักษะการเงียบ 1. การเงียบจะมีประโยชน์ถ้ามีจุดมุ่งหมาย 2. เป็นการแสดงถึงความเข้าใจที่มีต่อผู้พูด 3. เป็นการเน้นความสนใจ ให้เกียรติผู้พูด 4. เป็นการให้โอกาสและให้กำลังใจผู้รับการปรึกษา

การทวนความ การที่ผู้ฟัง พูดในสิ่งที่ผู้พูดได้บอกเล่า หรือพูดไปแล้วอีกครั้งหนึ่ง โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง ในแง่ของภาษา และไม่มีการเพิ่มเติมความคิดเห็นของผู้ฟัง ลงไป

ผลที่เกิดจากการใช้ทักษะการทวนความ 1. จูงใจหรือกระตุ้นให้พูดต่อ 2. ตรวจสอบว่าผู้ฟังเข้าใจสิ่งที่พูดว่าอย่างไร 3. ผู้พูดเกิดความชัดเจนในประเด็นที่พูด 4. รู้สึกว่าตนเองได้รับการยอมรับ 5. ไม่พูดซ้ำในสิ่งที่พูดแล้ว

การสรุปความ เป็นการรวบรวมสิ่งที่ผู้ฟังได้ยินได้ฟังจากผู้พูดเมื่อจบการพูด ในประเด็นสำคัญของความคิด ความรู้สึกที่ผู้พูดสื่อออกมา แล้วประมวลเป็นคำพูด สั้น ๆ ให้ได้ใจความสำคัญทั้งหมดเพื่อแสดงว่าเข้าใจผู้พูดอย่างแท้จริง

การจับและสะท้อนความรู้สึก การที่ผู้ฟังรับรู้ถึงความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูดที่แสดงออกมาโดยภาษาพูด และภาษาท่าทาง และผู้ฟังให้ข้อมูลย้อนกลับ ด้วยภาษาพูดที่เหมาะสม ชัดเจน เพื่อให้ผู้พูดตระหนักถึงความรู้สึกของตนเอง และสามารถมองปัญหาของตนเองได้ชัดเจนยิ่งขึ้น

ตัวอย่างกลุ่มคำที่แสดงความรู้สึก ไม่ชอบใจ ไม่พอใจ ไม่ได้อย่างใจ ขัดเคืองใจ ไม่สบอารมณ์ หงุดหงิด โกรธ รำคาญ เหลืออด เจ็บใจ อาฆาต แค้นใจ โกรธ ลังเลใจ ไม่แน่ใจ สงสัย กังวล กระวนกระวายใจ อึดอัด ลำบากใจ กังวล อาย เก้อเขิน กระดาก เสียหน้า ประหม่า อารมณ์ดี ดีใจ ภูมิใจ อิ่มเอิบใจ ปิติ ร่าเริง สบายใจ ครื้นเครง

การใช้ทักษะจับและสะท้อนความรู้สึก 1.ช่วยให้ผู้พูดรู้สึกว่ามีคนเข้าใจ ตนเองอย่างลึกซึ้ง 2. ช่วยให้ผู้พูดเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึกของตนเองมากขึ้น 3. เป็นการสร้างสัมพันธภาพ ผู้พูดอยากเปิดเผยตนเองมากขึ้น 4. ช่วยให้ผู้พูดประเมินตนเอง 5. ช่วยให้ผู้พูดเข้าใจปัญหา 6. กระบวนการให้การปรึกษาดำเนินไปได้อย่างรวดเร็ว