ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
ตัวอย่างการเขียน ในบทที่ 5.
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
NU. Library Online Purchasing System
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณะผู้วิจัย ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การนำเสนอผลงานสร้างสรรค์ดีเด่น
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
ชื่อตัวบ่งชี้ : 5.2 มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การ เรียนรู้โดยอาศัยผลการประเมินจาก ภายในและภายนอก ( ระดับ ) 1. จุดอ่อน เนื่องจากบุคลากรแต่ละคนมีภาระงานที่ต้อง.
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีศึกษา (Case Study Method)
การเงิน.
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
สรุปผลการเข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตร “LEADERSHIP DEVELOPMENT PROGRAM” ของ นางนงลักษณ์ บุญก่อ ตำแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล.
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การติดตามผลการปฏิบัติงาน การทบทวนและปรับแผนยุทธศาสตร์ การตรวจสอบและประเมินผล ของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 20 มิถุนายน 2554.
การศึกษาความพึงพอใจของ
ประเด็นสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
Information Technology
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
บทที่ 3 Planning.
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจเลือกรถขนส่ง
มาตรฐานการควบคุมภายใน
1 การบันทึกในระบบ GFMIS ใน ปีงบประมาณ 2549 ที่แตกต่างจากปี 2548 โครงการ GFMIS โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลัง ภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
ฐานข้อมูล Data Base.
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
ระบบเตือนภัยศัตรูพืช
เส้นทางสู่ “ ข้อมูลแข็งแรง ” ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก กรมอนามัย งานสารสนเทศ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
เพื่อบริหาร และการจัดการ เรียนรู้ ปรีชา หลีวิจิตร ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนควนขนุน.
การจัดการฐานข้อมูล.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
กลุ่ม A3 ข้าวนก.
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
Assessment and Evaluation System
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
กลุ่มกำกับมาตรฐานการบัญชี สตท.7 29 ม. ค.51. แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ  รายงาน ประจำเดือน  รายงานประจำปี  รายงานกรณี เร่งด่วน รายงานการตรวจสอบกิจการรายงานการตรวจสอบกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ เลขที่ 230 นางเบ็ญจมาศ วิไลวงษ์

ผลงานเรื่องที่ 1 ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนาระบบ การรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กรมชลประทานสำหรับผู้บริหาร ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (พ.ศ. 2552-2554)

การจัดทำรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กรมชลประทานสำหรับผู้บริหาร ความสำคัญของปัญหา การจัดทำรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กรมชลประทานสำหรับผู้บริหาร ใช้ระบบ Manual หรือระบบมือ เดิม ส่วนกลาง รวบรวมข้อมูล จากทะเบียนคุมงบประมาณ Cost sheet ส่วนภูมิภาค รวบรวมจากรายงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ที่จัดส่งราย 15 วัน รวบรวมจัดทำรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ กรมชลประทานสำหรับผู้บริหาร

ปัญหา รายงานไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันเวลาต่อการใช้งานและข้อมูลที่ได้รับไม่เป็นปัจจุบัน รายงานไม่เพียงพอสนับสนุนการปฏิบัติงานภายในของกรมชลประทาน ไม่สามารถตรวจสอบความถูกต้องกับแหล่งที่มาได้

ความยุ่งยากของงาน ต้องปรับวิธีการ หรือแนวทางปฏิบัติงานที่มีอยู่ ให้รองรับกับระบบ GFMIS ผู้บริหารกรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องการรายงานที่หลากหลายรูปแบบ รูปแบบรายงานมีการจำแนกที่ซับซ้อน ต้องพัฒนาระบบรายงานในภาพรวมของกรมชลประทาน รายงานต้องมีความถูกต้องและรวดเร็วในการนำเสนอ ต้องปรับเปลี่ยนพัฒนารูปแบบรายงานอย่างต่อเนื่องโดยการเขียนโปรแกรมชุดคำสั่งเพื่อลดเวลาการปฏิบัติงาน

ความรู้ ทักษะ ทางด้านเทคโนโลยี ในการพัฒนาระบบ ทักษะในการนำแนวคิดการวิเคราะห์สร้างกระบวนงานอย่างเป็นระบบ ความรู้ความเข้าใจในกระบวนการทำงานในระบบ GFMIS ความรู้และประสบการณ์ ด้านงบประมาณ และระบบ GFMIS ความรู้ในการพัฒนาออกแบบระบบงาน ความรู้ ทักษะ ในการออกแบบเขียนโปรแกรมชุดคำสั่ง และการนำมาประยุกต์ใช้งาน ต้องสามารถถ่ายทอดความรู้ทางเทคโนโลยีลงสู่ผู้ใช้งาน

วัตถุประสงค์ เพื่อลดเวลาและขั้นตอนการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงาน เพื่อนำข้อมูลและรายงานจากระบบ GFMIS MIS EIS มาใช้ประโยชน์ เพื่อให้ได้รายงานที่มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ เป็นปัจจุบัน เพื่อพัฒนารูปแบบรายงานให้เพียงพอแก่การใช้งานและเป็นไปตามความต้องการ ของผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนารูปแบบการนำเสนอ โดยเผยแพร่การติดตามผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณผ่านช่องทาง Website

สรุปสาระและขั้นตอนการดำเนินการ ศึกษาระบบงานเดิม ศึกษาระบบงานที่เกี่ยวข้อง GFMIS ศึกษาระบบงานใหม่ที่พัฒนา เปรียบเทียบระบบงานเดิมกับระบบงานใหม่ ศึกษาวิเคราะห์ กำหนดความต้องการของผู้ใช้งาน วิเคราะห์ออกแบบระบบใหม่โดยใช้เทคนิคการออกแบบ ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ การประมวลผลข้อมูลในระบบ (Process) ศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ การนำเสนอในรูปแบบของรายงาน (Output) จัดทำวิธีปฏิบัติการจัดทำรายงานผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณกรมชลประทาน

ประโยชน์ของผลงาน ลดเวลาและขั้นตอนการดำเนินงาน ขณะที่บุคลากรมีแนวโน้มลดลง มีเครื่องมือช่วยในการปฏิบัติงานในการจัดทำรายงาน มีการนำข้อมูลและรายงานจากระบบ GFMIS MIS EIS มาใช้ประโยชน์ รายงานที่พัฒนามีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ เป็นปัจจุบัน ตรวจสอบแหล่งที่มาได้ มีการพัฒนารูปแบบรายงานให้เพียงพอแก่การใช้งาน มีการพัฒนารูปแบบการนำเสนอ การติดตามผลการใช้จ่ายเงิน Website

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ผู้จัดทำต้องมีความรู้ความสามารถในด้านการเรียกรายงานและข้อมูลในระบบ GFMIS รายงานในระบบ GFMIS มีการแสดงที่แตกต่างกันแต่ละรายงาน ระบบ GFMIS มีการปรับปรุงระบบงานและยกเลิกรายงานบ่อยครั้ง ต้องปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง ต้องมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี ในการใช้งานโดยเขียนคำสั่งงาน ข้อมูลที่มาจาก GFMIS ซ้ำซ้อน

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ควรส่งเจ้าหน้าที่เข้ารับการอบรมทั้งระบบงานคอมพิวเตอร์ ระบบ GFMIS เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบงาน นำมาพัฒนาระบบงานต่อยอดอย่างต่อเนื่อง ควรให้ผู้มีหน้าที่ในการควบคุมงบประมาณมีความรู้ความเข้าใจในระบบ งบประมาณ การใช้รายงานรายงาน เพื่อการประยุกต์ใช้รายงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการสอนงาน Coaching