ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
HPC 11 กรอบแนวทางการดำเนินงาน นโยบายกรมอนามัย ศูนย์อนามัยที่ 11 ปีงบประมาณ 2553 กลุ่มยุทธศาสตร์ 31 กค. 52.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
สถานการณ์/แนวทางการดำเนินงาน ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกและคอตีบ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
แนวทางการประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๕
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
งานโรคไม่ติดต่อ กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
หลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบล
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
แนวคิดในการปรับปรุงรูปแบบและพัฒนามาตรฐานทีม SRRT
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
โครงการสร้างความร่วมมือ ภาคีเครือข่ายในการพัฒนา รูปแบบการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 2.
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 เน้นชุมชนให้มี การพัฒนา ระบบสุขภาพ อย่างครบวงจรใน รูปเครือข่าย โครงการพัฒนา เครือข่ายฯ ประสานจังหวัด เลือกผู้นำชุมชน / ผู้สื่อข่าว.
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดโรคและภัยสุขภาพ รอบ 5 เดือน ( ตุลาคม กุมภาพันธ์ 2554 )
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ, งานระบาดวิทยา,EPI, งานทันตะฯ ด้วยสองมือ... ของพวกเรา... ร่วมสร้าง.
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ทำแผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ของ แกนนำชุมชน เทศบาลสนับสนุน งบประมาณอย่างเต็มที่ เครือข่ายชุมชน วัด โรงเรียนมีบทบาทในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ ใช้แผนที่ยุทธสาสตร์
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างสุขภาพ ด้วยภาคีเครือข่าย กลยุทธที่ 4 การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียน KPI: ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัด (อปท)ผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ร้อยละ 80

แผนงาน/โครงการ :โครงการพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค ประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการดำเนินงาน ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบล ประชุมเชิงปฏิบัติการแนวทางการประเมินศูนย์เด็กเล็กให้กับเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ ประเมินศูนย์เด็กเล็ก ระดับอำเภอ เพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทน ระดับจังหวัด เข้าประกวดระดับเขต

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างสุขภาพ ด้วยภาคีเครือข่าย (ต่อ) กลยุทธที่ 9 : การป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ KPI: อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่เกิน 3 แสนต่อประชาการ KPI: เยาวชนมีความรู้เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง ร้อยละ 25

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมการสร้างสุขภาพด้วยภาคีเครือข่าย (ต่อ) KPI: การใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ในกลุ่มเยาวชนร้อยละ 70 KPI:โรงพยาบาลมีคลินิกโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานกรมควบคุมโรค KPI:อัตราตายด้วยโรคเอดส์ไม่เกิน 7 ต่อแสนประชากร

แผนงาน/โครงการ: 1.โครงการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน เพศศึกษา - อบรมทีมวิทยากรระดับจังหวัด การสื่อสารสุขภาวะทางเพศ - เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงและการเฝ้าระวังการติดเชื้อ HIV

แผนงาน/โครงการ 1.โครงการป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (ต่อ) การบริหารจัดการเครื่องหยอดเหรียญถุงยางอนามัย การพัฒนามาตรฐานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2. โครงการพัฒนาระบบบริการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ - พัฒนาระบบบริการดูแลรักษา ช่วยเหลือ ผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์ตามมาตรฐานกรมควบคุมโรค - พัฒนาระบบการดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์แบบองค์รวม

ยุทธศาสตร์ 5 ลดการเกิดโรคระบาดและลดความรุนแรงของภัยพิบัติ กลยุทธที่ 1 : พัฒนาระบบเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ KPI:ของหมู่บ้านที่สามารถป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกไม่เกิด generation of Infection ร้อยละ 80 ของหมู่บ้าน KPI:อำเภอผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดตามคุณลักษณะอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ร้อยละ 80

โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก แผนงานโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก กิจกรรม Asian dengue day อบรม SRRT ตำบล ประกวดหมู่บ้านควบคุมโรคไข้เลือดออกดีเด่น

แผนงานโครงการ โครงการพัฒนาอำเภอ เป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อบรมการเฝ้าระวังควบคุมการระบาดและสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา/มาตรฐาน SRRT ประชุมเชิงปฏิบัติการโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลระบาดวิทยา ประชุมนำเสนอผลงานวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระบาดวิทยา /Best practice ประเมินอำเภอควบคุมโรคดีเด่นและมาตรฐาน SRRT

สมาชิก SRRT เครือข่ายระดับตำบล เจ้าหน้าที่ รพ.สต. หรือ สอ. อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม) บุคลากร อปท. ได้แก่ อบต. หรือเทศบาลตำบล กลุ่มอื่นๆ เช่น อาสาสมัครปศุสัตว์ ครูอนามัย วิทยากรผู้สอน อาจจะ ใส่รูปตัวแทนจากกลุ่มต่างๆ ให้ดูน่าสนใจ เหมาะกับผู้รับการอบรม 11

เป้าหมายของการพัฒนาเครือข่าย SRRT ระดับตำบล 3 ร รู้เร็ว (และตรวจสอบ) รายงานเร็ว (แจ้งข่าว) ควบคุมเร็ว (จำกัดการระบาด) เป้าหมายสำคัญ 3 ประการ ของเครือข่าย SRRT ได้แก่ 1. การรู้เหตุการณ์ผิดปกติที่เกิดขึ้นในชุมชน ได้เร็ว และทำการตรวจสอบว่าเป็นข่าวที่น่าเชื่อถือหรือไม่ 2. เครือข่ายในชุมชน แจ้งข่าวรวดเร็ว และมีการรายงานเหตุการณ์ต่อยังระดับอำเภออย่างรวดเร็ว 3. ทำการควบคุมโรคในเบื้องต้นเพื่อจำกัดการระบาด 12

ระบบงาน SRRT อำเภอและเครือข่ายระดับตำบล ศูนย์ รับ แจ้ง ข่าว รพ. สต. / สอ. แหล่งข่าวในชุมชน ควบคุมโรคได้เร็วขึ้น สอบสวน ตรวจสอบ แจ้งข่าว ชุมชนในตำบล ได้แก่ หมู่บ้านต่างๆ มีเหตุการณ์ผิดปกติเกิดขึ้น เช่นมีผู้ป่วยหลายรายในเวลาเดียวกัน แต่เป็นโรคที่มีอาการไม่รุนแรง เหตุการณ์ผิดปกติในชุมชน

1.โรคประจำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่พบบ่อย หมายถึง โรคประจำถิ่นหรือกลุ่มอาการที่ประชาชนรู้จักดี และพบบ่อยๆในชุมชน เช่น ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ ที่พบการระบาดตามฤดูกาล ไข้ฉี่หนู มือ เท้า ปาก เนื้อหาหลักที่ต้องการครอบคลุมให้ครบ

ภาพรวมของการทำงาน ระดับ หน้าที่ เครื่องมือ อสม./เครือข่าย* แจ้งข่าวผิดปกติเกี่ยวกับการป่วยหรือตาย แนวทาง “การแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข” ตำบล ตรวจสอบข่าวการระบาด ทะเบียนรับแจ้งเหตุผิดปกติด้านสาธารณสุข แนวทาง ”การตรวจสอบเหตุผิดปกติ” อำเภอ สอบสวนการระบาด - ให้เน้นว่าในหัวข้อ “หน้าที่” ของแต่ละระดับ เป็นแค่หน้าที่หลัก แต่ใครจะทำมากกว่านั้นก็ได้ แล้วแต่ประสบการณ์และความพร้อมของแต่ละพื้นที่ เช่น อสม.อาจช่วยตรวจสอบข่าว หรือสอ.อาจทำการสอบสวนโรคด้วยตัวเองในกรณีที่เคยทำอยู่แล้ว สำหรับอำเภอไม่ได้เขียนเครื่องมือไว้ในนี้ (เกณฑ์การสอบสวนโรคของระดับอำเภอ ที่ทางสำนักระบาดฯ แจ้งไปก่อนหน้านั้นแล้ว) เนื่องจากในเนื้อหาของการอบรมนี้จะไม่ครอบคลุมในรายละเอียดการทำงานของระดับอำเภอ * เครือข่าย หมายถึง อบต. เทศบาล สื่อมวลชน ครู ผู้นำ เจ้าหน้าที่กู้ภัยประจำตำบล ประชาชนในพื้นที่ 15

สวัสดี