วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
รอยต่อ pn.
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Bipolar Junction Transistor
Biomedical Electronics Biomedical Amplifiers
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
5.5 การใช้ MOSFET ในการขยายสัญญาณ
บทที่ 6 วงจรออปแอมป์เชิงเส้น
เครื่องพันขดลวด Coil Wiering Machine EE โดย นายวรวิทย์ เหล่าพิเชฐกุล นายมาโนชย์ ทองขาว อาจารย์ที่ปรึกษา.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
8. ไฟฟ้า.
PLC คืออะไร?           Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกะ
COMPUTER.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
Memory Internal Memory and External Memory
? คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อะไรนะ ?
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
โฟโตไดโอด (PHOTODIODE)
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
Actuator
Electronics for Analytical Instrument
อิเล็กโทรนิกส์.
Electronic Circuits Design
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ไอซีดิจิตอลและการใช้งาน
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ชื่อกลุ่ม เด็กผู้หญิง จัดทำโดย นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว อักษราภัค อุปคำ ม เลขที่ 8 นางสาว พัชราพร พวงอินใจ ม เลขที่ 23.
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
Electronic Circuits Design
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
Operational Amplifier
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )

วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC)  วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งรวบรวมอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างเช่น ทรานซิสเตอร์ ไดโอด ตัวต้านทาน ลงบนชิพ (chip) เล็ก ๆ ของซิลิกอนซึ่งอุปกรณ์ทั้งหลายเหล่านี้จะต่อถึงกันด้วยลวดอลูมิเนียม (บางครั้งเป็นทองคำ) โดยในไอซีนี้อาจประกอบด้วยอุปกรณ์เพียงไม่กี่ชิ้นจนถึงหลายร้อยหลายพันชิ้น ไอซีเหล่านี้ได้ถูกสร้างเป็นของเล่นของใช้ เช่น วีดีโอเกม นาฬิกาดิจิตอล ตลอดจนชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ที่มีความซับซ้อน

Resistor Diode Transistor

ชนิดของไอซี วงจรไอซีจัดเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 2 กลุ่มคือ 1.       Analog IC หรือ Linear IC 2.    ดิจิตอลไอซี (Digital IC) หรือ Logic IC เป็นไอซีที่ตอบสนองหรือกำเนิดระดับสัญญาณเพียงแค่ 2 ระดับ คือระดับลอจิกสูง และระดับลอจิกต่ำ ไอซีพวกนี้เป็นจำพวกไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) หน่วยความจำ (Memory) ซึ่งมีใช้ในไมโครโปรเซสเซอร์ และอื่น ๆ

เวลา IC แบบ Analog เวลา IC แบบ Digital ถังและการดูขาไอซี ไอซีส่วนใหญ่จะมีตัวถังเป็นแบบขาคู่วางขนาน (Dual IN-line package: DIP) นอกจากนี้อาจมีตัวถังประเภทอื่น ๆ เช่น ตัวถังโลหะเป็นหมวกปีก (TO-5) เป็นต้น ไอซีส่วนใหญ่จะมีหลายขา เช่น 14 ขาหรือมากกว่า แต่ก็มีบ้างที่มีเพื่อ 2 ถึง 3 ขา คล้าย ไดโอดหรือทรานซิสเตอร์ วิธีการดูขาไอซี ให้ดูจากรอยบากซึ่งจะอยู่ที่มุมของตัวไอซี ให้นับขาที่อยู่ใต้รอยบากเป็นขาที่ 1 และขาถัดมาเป็นขาที่ 2,3 ไปเรื่อย ๆ ตามทิศทางทวนเข็มนาฬิกาดังรูปข้างล่าง

ไอซีออปแอมบ์(OP-AMP ) ไอซีออปแอมบ์ เป็นอีกวงจรหนึ่งที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลายทั้งในรูปแบบของวงจรขยายสัญญาณ วงจรเปรียบเทียบสัญญาณ โดยต่ออุปกรณ์ภายนอกเพิ่มเติมอีกไม่กี่ชิ้น ก็สามารถทำงานได้แล้ว สัญลักษณ์ของ OP-AMP V+ Vout Vin+ Vin– + – V- Vin+ = Non-inverting Amplifier Vin– = Inverting Amplifier +V, -V = แหล่งจ่ายไฟฟ้า

หลักการพื้นฐานของ Op-Amp ออปแอมป์เป็นอุการณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีอัตราการขยายและอินพิแดนซ์อินพุต Zi หรือ Ri สูงมาก และมีอินพิแดนซ์เอาร์พุต Zo หรือ Ro ต่ำมาก ถ้าจ่ายสัญญาณอินพุตให้กับขั้วบวกของออปแอมป์ จะได้สัญญาณเอาร์พุตมีมุมที่อินเฟสกับสัญญาณอินพุต แต่ถ้าจ่ายสัญญาณอินพุตให้กับขั้วลบของออปแอมป์ จะได้สัญญาณเอาร์พุตมีมุมที่ต่างเฟสกับสัญญาณอินพุต 180 องศา หรือมุมตรงกันข้าม

555time SN741

USING A 555 TIMER IC: USING A 741 OP AMP IC: TWO SIDETONE CIRCUITS FOR QRP RIGS

คุณลักษณะของ OP-AMP ในอุดมคติ (Ideal Op-Amp) 1.   อัตราขยายของ Op-Amp แบบวงจรรอบเปิด (Open Loop Gain) มีค่าสูงมากจนเป็นอนันต์ AVOL = infinity 2.   Zin มีค่าสูงมากจนถือได้ว่าเป็น infinity 3.   Zout มีค่าต่ำมากจนถือได้ว่าเป็น 0 4.   อัตราขยายของ Op-Amp ไม่ขึ้นกับความถี่ 5. เมื่อ Vin = 0 จะได้ Vout เป็น 0 ด้วย

จากคุณสมบัติดังกล่าวมาแล้ว มีผลสืบเนื่องคือ Iin = 0 เนื่องด้วย Zin สูงมาก ความต่างศักย์ระหว่างขั้ว input ทั้งสองของ Op-Amp เป็น 0 เนื่องจาก Iin และยังให้ค่า Z out มีค่าต่ำมากจนประมาณได้ว่า Zout = 0

แหล่งจ่ายไฟสำหรับ OP-Amp ส่วนใหญ่ต้องการแหล่งจ่ายไฟสองชุด บวกและลบ ชนิดสมมาตรอย่างไรก็ตามอาจดัดแปลงแหล่งจ่ายไฟชุดเดียว ให้เทียบเท่าแหล่งจ่ายไฟ 2 ชุดได้เช่นกัน

การใช้ Op-Amp ในวงจรขยายสัญญาณ 1.   วงจร BUFFER หรือ VOLTAGE FOLLOWER อัตราการขยายวงจรชิดนี้มีค่าประมาณ 1 นั่นคือ AV = Vout/Vin = 1 Vout = Vin

2.  วงจรขยายสัญญาณแบบกลับเฟส (Inverter Amplifier) ความต่างศักย์ระหว่าง Vin+ และ Vin- =0 ดังนั้นศักดาไฟฟ้าที่ขา Vin- = 0 กระแสย่าน Ri และ Rf มีค่า i AV = - = - เพราะฉะนั้น AV = -

3.วงจรขยายสัญญาณแบบไม่กลับเฟส (Non-inverting Amplifier)  จากรูป กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน Ri และ Rf มีค่า i เท่ากันดังนั้น Vin = iRi Vout = i(Ri +Rf) AV = i(Ri +Rf)/iRi AV = Ri +Rf/Ri หรือ …AV = 1+(Rf/Ri)

ตำแหน่งของขา Op-Amp บางชนิด 1.  1. แบบขาเดี่ยว 8 ขา      2.   ไอซีตัวเดี่ยว 14 ขา 3.   ตัวถังแบบ Op-Amp คู่