CKD Guideline จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พญ.ธิติยา พัววิไล 27-09-11
การป้องกันโรคไตเรื้อรัง การป้องกันระดับปฐมภูมิ (Primary prevention) ป้องกันไม่ให้เกิดโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง พิษจากยา การป้องกันระดับทุติยภูมิ (Secondary prevention) ป้องกันไม่ให้โรคที่มีอยู่แล้วลุกลามจนมีภาวะไตเสื่อมหรือไตวาย เช่น การ ควบคุมเบาหวาน การควบคุมความดันโลหิต การป้องกันระดับตติยภูมิ (Tertiary prevention ) ป้องกันไม่ให้เสียชีวิตหรือพิการจากภาวะไตวาย ได้แก่ การบำบัดทดแทน ไต (การฟอกเลือด การล้างไตทางช่องท้อง การปลูกถ่ายไต)
ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นโรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคแพ้ภูมิตนเอง ที่อาจ ก่อให้เกิดไตผิดปกติ โรคติดเชื้อในระบบที่อาจ ก่อให้เกิดโรคไต โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคติดเชื้อระบบทางเดิน ปัสสาวะซ้ำหลายครั้ง ได้รับสารพิษหรือยาที่ทำลายไต อายุ > 60 ปี มีมวลเนื้อไตลดลง ทั้งที่เป็นมา แต่กำเนิดหรือเป็นภายหลัง มีประวัติโรคไตเรื้อรังใน ครอบครัว ตรวจพบนิ่วในไต
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้อรัง คำจำกัดความ GFR ( ml/min/1.73m2) 1 ไตผิดปกกติ และ GFR ปกติหรือเพิ่มขึ้น ≥ 90 2 ไตผิดปกกติ และ GFR ลดลงเล็กน้อย 60-89 3 GFR ลดลงปานกลาง 30-59 4 GFR ลดลงมาก 15-29 5 ไตวายระยะสุดท้าย < 15 (หรือได้รับการบำบัดทดแทนไต)
การติดตามระดับการทำงานของไตในโรคไตเรื้อรัง ควรมีการติดตามระดับการทำงานของไตโดยการตรวจค่า eGFR และการตรวจปัสสาวะ โรคไตเรื้อรัง ติดตามอย่างน้อย ระยะที่ 1 และ 2 ทุก 12 เดือน (ทุก 6 เดือน ถ้าตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ) ระยะที่ 3 ทุก 6 เดือน (ทุก 12 เดือน ถ้าระดับการทำงานของไตคงที่และตรวจไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ) ระยะที่ 4 ทุก 3 เดือน (ทุก 6 เดือน ถ้าระดับการทำงานของไตคงที่) ระยะที่ 5
การชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิต < 130/80 มม.ปรอท เลือกใช้ยาลดความดันกลุ่ม ACE-I หรือ ARBควบคุมให้มี proteinuria น้อย กว่า 0.5 กรัมต่อวัน ระดับน้ำตาลในเลือด<130 มก.ต่อเดซิลิตร (HbA1C < 7 %) หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่น หลีกเลี่ยงการใช้ยาแก้ปวดกระดูก, ยาหม้อ และ สมุนไพร ระดับไขมันในเลือดให้ระดับ LDL <100 มก.ต่อเดซิลิตร หรือ< 70 mg/dL ในผู้ป่วยซึ่งมีหลักฐานว่ามีโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือหลอดเลือดสมอง
การควบคุมพฤติกรรมชีวิต งดสูบบุหรี่ ควบคุมน้ำหนักตัวให้ BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ ออกกำลังกายพอควร สม่ำเสมอ การบริโภค รับประทานโปรตีน หรือเนื้อสัตว์ ในสัดส่วนที่พอเหมาะ (0.6-0.8 กรัมต่อ นน.ตัวเป็นกิโลกรัมต่อวัน) รับประทานอาหาร low salt เกลือโซเดียม 2 กรัม หรือ sodium chloride 5 กรัมต่อวัน หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
สาระสำคัญ CKD Guideline
คัดกรองผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง CKD 1,2 CKD 3 มีการเสื่อมของไต < 7 mL/min/1.73m2 ต่อปี ปรึกษาอายุรแพทย์ มีการเสื่อมของไต > 7 mL/min/1.73m2 ต่อปี CKD 4,5 โรคไต โปรตีนรั่วในปัสสาวะ > 1g ต่อวัน หรือ spot UPCR > 1,000 mg/g creatinine
เป้าหมายของการรักษาเพื่อป้องกัน และชะลอการเสื่อมของโรคไตจากเบาหวาน การใช้ยากลุ่มACE inhibitor หรือ ARB โปรตีนรั่วทางปัสสาวะ < 0.5 – 1.0 กรัม/วัน การใช้ยาความดันโลหิตชนิดอื่นร่วมด้วย ความดันโลหิตต่ำกว่า 130/80 มม.ปรอท การควบคุมระดับน้ำตาลอย่างเข้มงวด Hb A1c ต่ำกว่าร้อยละ 6.5 การจำกัดโปรตีนในอาหาร 0.6-0.8 กรัม/กก./วัน การจำกัดเกลือในอาหาร 3-5 กรัมของเกลือแกง/วัน การให้ยาลดไขมันคอเลสเตอรอล LDL-c ต่ำกว่า 100 มก./ดล การสูบบุหรี่ หยุดสูบบุหรี่
ปรึกษาอายุรแพทย์โรคไต ประเมินสิทธิการรักษา CKD 3 (eGFR ลดลง > 7 ) CKD 4 (eGFR <30 ) แนะนำการบำบัดทดแทนไต ประเมินเส้นเลือดเตรียมส่งทำ เส้นฟอกไตกรณี HD ประเมินหน้าท้องและนัดสัมภาษณ์ กรณีเข้าโครงการ CAPD ประเมินเข้า KT guideline CKD5 รับการบำบัดทดแทนไตตามสิทธิ์ HD Nephro clinic CAPD CAPD clinic
Kidney Transplantation Guideline CKD 4 ( e GFR < 30) ให้ข้อมูลเรื่องการปลูกถ่ายไต ผู้บริจาค / ผู้รับบริจาค ประกันสังคม ขอสิทธิ์ฟอกไตทางเส้นเลือด ขอสิทธิ์ปลูกถ่ายไต เบิกได้ ฟอกไต สปสช. คัดเลือกเข้าโครงการ CAPD ไม่ผ่านเกณฑ์ CAPD สปสช. ( shift mode, HD(จ่ายเอง) ) ผ่านเกณฑ์ CAPD สปสช. ลงทะเบียนรอปลูกถ่ายไต CDKT/LRKT เตรียมผู้ป่วยเพื่อรอรับการปลูกถ่ายไต ส่งต่อหน่วยบริการที่รับปลูกถ่ายไต