หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
Advertisements

สื่อประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบย่อยอาหาร
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย และ การปฏิบัติตนให้เหมาะสม กับพัฒนาการทางด้านร่างกาย พลศึกษาและสุขศึกษา ป.4.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
การจัดกลุ่มโรคตามบัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 10
สื่อการสอน เรื่อง เรียนรู้ตัวเรา
วัฏฎ3 อาหารสำหรับวัยรุ่น
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
Thyroid.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
การจัดระบบในร่างกาย.
การบริบาลผู้สูงอายุ (CARE FOR ELDERLY).
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 2
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
เรื่อง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
การออกกำลังกาย (EXERCISE).
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
( Cardiopulmonary Resuscitation : CPR )
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ความรู้เกี่ยวกับตัวเรา
เกม 4 ตัวเลือก โดย น.ส.วาสนา ฟักประไพ
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
การผดุงครรภ์ไทย.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
การนวดไทยแบบราชสำนัก
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
หากมีอาการดังต่อไปนี้ โปรดแจ้งแพทย์ หรือพยาบาล !!
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
อาหารต้านมะเร็ง เพื่อการป้องกัน อาหารต้านมะเร็ง 5 ประการ
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
การบริหารการหายใจ เพื่อการคลายเครียด
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ

ระบบของอวัยวะในร่างกาย ระบบผิวหนัง ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบประสาท ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร

องค์ประกอบของระบบอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย ร่างกายของเราประกอบขึ้นจากหน่วยที่เล็กที่สุด คือ เซลล์จำนวนหลายพันล้านเซลล์ที่มีโครงสร้างและหน้าที่คล้ายคลึงกันมารวมเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อมีหลายชนิด แต่ละชิดมาประกอบกันเป็นอวัยวะ อวัยวะแต่ละอวัยวะจะทำหน้าที่ประสานสัมพันธ์กันรวมเรียกว่า “ระบบ” การดำเนินชีวิตประจำวันของเรามีความเกี่ยวข้องกับระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆในร่างกายทั้งสิ้น เช่น เมื่อเรารับประทานอาหาร กระบวนการตั้งแต่นักเรียนนำอาหารเข้าสู่ร่างกายจนถึงการขับถ่ายกากอาหารและของเสียออกจากร่างกาย จะมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของอวัยวะหลายชนิด ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ อวัยวะดังกล่าวจะทำงานประสานสัมพันธ์กันเป็นระบบ เรียกว่า ระบบย่อยอาหาร

ระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย อวัยวะของร่างกายนั้นมีมากมาย ทั้งอวัยวะที่เรามองเห็นและอวัยวะที่เรามองไม่เห็น อวัยวะที่เรามองเห็นส่วนใหญ่จะอยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ปาก จมูก แขน ขา มือ เท้า อวัยวะที่เรามองไม่เห็นจะอยู่ภายในร่างกาย เช่น สมอง หัวใจ ลำไส้ และต่อมต่าง ๆ ในร่างกาย

ระบบการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ระบบผิวหนัง (Integumentary System) ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ระบบกล้ามเนื้อ (Muscula System) ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ระบบขับถ่ายปัสสาวะ (Urinary System) ระบบหายใจ (Respiratory System) ระบบไหลเวียนของเลือด (Circulatory System) ระบบประสาท (Nervous System) ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) 0ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)

รูปที่ 1.1 ตำแหน่งอวัยวะภายในและส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

อวัยวะภายนอก หน้าที่ของอวัยวะภายนอก ตา ใช้ในการมอง หู ใช้ฟังเสียง จมูก ใช้ในการดมกลิ่น ปาก ใช้ในการรับประทานอาหาร พูด มือ แขน ใช้ในการหยิบจับ เท้า ขา ใช้ในการเคลื่อนที่

การดูแลระบบหายใจ อยู่ในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ 2. ไม่สูบบุหรี่และไม่อยู่ในบริเวณที่มีผู้สูบบุหรี่ 3. ออกกำลังกายอย่างเพียงพอเพื่อให้ร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ 4. รักษาความอบอุ่นของร่างกายอยู่เสมอ 5. ถ้าอยู่ในที่มีฝุ่นละอองหรือควันบุหรี่ ควรใช้ผ้าปิดปาก และปิดจมูก 6. เวลาไอ จาม หรือคลุกคลีกับผู้ป่วย ควรใช้ผ้าปิดปาก และปิดจมูก 7. เมื่อเกิดความผิดปรกติของระบบหายใจควรรีบไปพบแพทย์ทันที

แหล่งอ้างอิง หน้าที่ของอวัยวะภายนอก bangkeaw.krupuchong.com/watyai/thai11.ppt วันที่สืบค้น 21 กุมภาพันธ์ 2556 ระบบของอวัยวะในร่างกาย www.pil.in.th/ วันที่สืบค้น 21 กุมภาพันธ์ 2556