นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส 53402693 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส 53402693 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน
ฟลูอิไดซ์เบด หลักการทำงาน ชนิดของเตาเผาฟลูดิไดซ์เบด แบบฟองอากาศ แบบหมุนวน เชื้อเพลิง ชีวมวล ขยะมูลฝอย การนำไปใช้ประโยชน์
ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย ของเหลวที่สามารถไหลได้
หลักการทำงาน
ชนิดของเตาฟลูอิไดซ์เบด เตาเผาฟลูอิไดซ์เบดชนิดฟองอากาศ ซึ่งจะมีการเคลื่อนที่ของวัสดุเบดคล้ายฟองอากาศ โดยเมื่อจ่ายอากาศเข้าทางด้านล่างของหัวจ่ายอากาศ (Air distributor) วัสดุเบดจะมีลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นและลงจนมีลักษณะคล้ายกับฟองอากาศ เตาเผาฟลูอิไดซ์เบดชนิดหมุนวน ซึ่งเมื่อจ่ายอากาศเข้าทางด้านล่างของหัวจ่ายอากาศวัสดุเบดจะเคลื่อนที่ขึ้นสู่บริเวณด้านบนของตัวเตา และถูกอากาศดันให้กลับลงมาด้านล่างทางไซโคลน
ปัจจัยในการสัญดาปของเชื้อเพลิง อาศัยปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการคือ 1. เวลาต้องนานเพียงพอ เพื่อให้เชื้อเพลิง เพื่อให้เชื้อเพลิงสันดาปหมดโดยไม่ถูกอากาศส่วนเกินนำออกจากปล่องควันก่อนถูกสันดาป 2. อุณหภูมิในการสันดาปต้องสูงพอที่จะทำให้เกิดการสันดาปอย่างต่อเนื่อง 3. การผสมระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศ ต้องอยู่ในลักษณะของการไหลแบบปั่นป่วน
Advantages 1 ใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิดโดยสามารถใช้ได้ทั้งเชื้อเพลิงเดี่ยวหรือเชื้อเพลิงผสมที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากได้ 2 ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงจะมีเวลาอยู่ในเตานานจึงสามารถเกิดการเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ 3 เนื่องจากอุณหภูมิภายในเตาต่ำ (ไม่เกิน 1000oC) ทำให้ลดอัตราการกัดกร่อนและการเกาะของเถ้าหลอมเหลวบนพื้นผิวถ่ายเทความร้อน 4 การถ่ายเทความร้อนที่สำคัญเป็นแบบการพาความร้อน เนื่องจากการปั่นป่วนของเบด
Disadvantages. 1 ระยะเวลาเริ่มจุดเตาหรือหยุดเดินระบบนาน 2 การทำงานของระบบป้อนเชื้อเพลิงผันแปรกับคุณสมบัติของเชื้อเพลิงมาก 3 อาจเกิดการสึกกร่อน เนื่องจากมีการปะทะของอนุภาคและก๊าซ 4 ใช้พลังงานสำหรับพัดลมสูงกว่าเตาเผาชนิดอื่นๆ
เชื้อเพลิงชีวมวล ชีวมวล (Biomass) คือ สารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร (เช่น แกลบ ชานอ้อย ฟางข้าว) (หน่วย: พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน รายงานพลังงานของประเทศไทย 2552
พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวล
พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวล [ต่อ]
เชื้อเพลิงขยะ เชื้อเพลิงขยะ หมายถึง ขยะมูลฝอยที่ผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เช่น การคัดแยกวัสดุที่เผาไหม้ไม่ได้ออกมา การฉีกหรือตัดขยะมูลฝอยออกเป็นชิ้นเล็กๆ เชื้อเพลิงขยะที่ได้นี้จะมีความร้อนสูงกว่าหรือคุณสมบัติดเป็นเชื้อเพลิงที่ดีกว่าการนำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาให้โดยตรง เนื่องจากมีองค์ประกอบทั้งทางกายภาพและเคมีสม่ำเสมอกว่า ข้อดีของเชื้อเพลิงขยะ คือค่าความร้อนสูง (เมื่อเปรียบเทียบกับขยะมูลฝอยที่เก็บรวมมา) ง่ายต่อการจัดเก็บ การขนส่ง การจัดการต่างๆรวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำกว่า
คุณลักษณะของเชื้อเพลิงขยะแต่ละประเภทและระบบการเผาไหม้ที่ใช้
การแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะ
การผลิตไฟฟ้า
การอบแห้ง
ตัวอย่างโรงไฟฟ้า
เอกสารอ้างอิง 1. นพคุณ ปวงอินใจ, ปรีชา หงษ์เวียงจันทร์ และปิยะณัฐ เจริญพร, 2553, การศึกษากระบวนการเผาไหม้ของเปลือกถั่วลิสงและเปลือกมะขามในเตาเผาชนิดฟลูอิไดซ์เบดแบบทรงกรวย โดยใช้ทรายและอลูมิน่าเป็นวัตถุเบด, ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 16 - 24. 2. Kouprianov, V. and Permchart, W., 2003, “Emission from a Conical FBC Fired with a Biomass Fuel”, Applied Energy, Vol. 74, No. 3 – 4, pp. 383 – 392. 3. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน,2552, การใช้ชีวมวลในประเทศไทยระหว่างปี 2547 - 2552 [Online], Available: http://www.dede.go.th/dede/index.php?option=com_content&view=article&id=140:-2546- 2551-&catid=58&Itemid=68 [31 สิงหาคม 2554]. 4. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2552, เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากชีวมวล[Online], Available: http://www2.dede.go.th/km_ber/inneract/s3-1.pdf [20 กันยายน 2554]. 5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2552, เชื้อเพลิงที่ได้จากขยะมูลฝอย [Online], Available: http://users.domaindlx.com/wirc/Documents/Rdf_Waste.pdf [20 กันยายน 2554].