บรรยากาศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำแนะนำ : กรุณาคลิกที่ปุ่มด้านบนเพื่อเข้าสู่หน้าหลักของโปรแกรม หรือหากต้องการออกจากโปรแกรม ให้กดปุ่ม Esc.
Advertisements

ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
SUNSCREEN.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
วิธีการช่วยป้องกัน สภาวะโลกร้อน.
10วิธีลดภาวะโลกร้อน จัดทำโดย
Global Warming.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
ภาวะโลกร้อน ด.ช เกียรติณรงค์ นันทปัญญา ม.2/2 เลขที่ 2
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
6. อย่าได้ยึดถือโดยการคาดคะเน การ คาดการณ์ตามประวัติศาสตร์ ตาม สถิติ ความน่าจะเป็น ซึ่งอาจจะผิดก็ ได้ เพราะเห็นแค่ร้อย อย่าเหมาว่าที่ ร้อยเอ็ดจะเป็นไปด้วย.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ระบบสุริยะ (Solar System).
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
ดวงอาทิตย์ The Sun.
น้ำและมหาสมุทร.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
Demonstration School University of Phayao
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
กาแล็กซีและเอกภพ.
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ถัดไป. ภาวะโลกร้อน หมายถึง ภาวะที่อุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกสูงขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ถัดไ ป.
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
Welcome to. โลกร้อน คืออะไร ? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราใน ปัจจุบัน สังเกตได้จาก.
การหักเหของแสง (Refraction)
การพยากรณ์อากาศ โดย... นางธีราพรรณ อินต๊ะแสน เจ้าพนักงานอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติงาน สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทกทุ่งช้าง.
ชั้นบรรยากาศ จัดทำโดย เด็กหญิงธรณ์ธันย์ นวชัย ชั้น ม.1/4 เลขที่ 11
เรื่องบรรยากาศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อมกับภาวะโลกร้อน
เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล จัดทำโดย ด. ญ
ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids)
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
จัดทำโดย ด. ช. ฤทธิชัย แจ้งสว่าง ม 1/ 2 เลขที่ 11 ด. ช. ธนะพัฒน์ ทาอูฐ ม.1/2 เลขที่ 5 ด. ช. ภราดร หนูสิทธิ์ เลขที่ 8 click.
ภาวะโลกร้อน.
ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช จัดทำโดย ด. ช
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของ โลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
เรื่อง ระบบสุริยะ จัดทำโดย ด. ช. ณัฐวัตร ฐาปนสุนทร เลขที่ 12 ชั้น ม
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่ สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ภาวะโลกร้อน กับการดำเนินชีวิต
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ตำแหน่งบนพื้นโลก
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บรรยากาศ

องค์ประกอบของอากาศ 1. แก๊ส อากาศเป็นของผสมที่ประกอบด้วยส่วนประกอบหลักที่สำคัญดังต่อไปนี้ 1. แก๊ส

ความชื้น           ความชื้น หมายถึง จำนวนไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศ ความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับความดัน และอุณหภูมิ 

การแบ่งชั้นบรรยากาศ เทอร์โมสเฟียร์ เมโซสเฟียร์ สตราโทสเฟียร์  นักวิทยาศาสตร์แบ่งบรรยากาศออกเป็นชั้นๆ โดยใช้เกณฑ์ในการแบ่ง หลายรูปแบบ เช่นแบ่งตามความแตกต่างของอุณหภูมิ สมบัติของแก๊ส หรือแบ่งตามสมบัติทางอุตุนิยมวิทยา การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์ มี 4 ชั้น การแบ่งชั้นบรรยากาศ เทอร์โมสเฟียร์ เมโซสเฟียร์ สตราโทสเฟียร์ โทรโพสเฟียร์

ในชั้นนี้จะเกิดปรากฏการณ์ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ เมฆ ฝน หิมะ พายุ 1. ชั้นโทรโพสเฟียร์ อยู่สูงจากผิวโลกขึ้นไป10-12 กิโลเมตร เป็นชั้นที่มีอากาศร้อยละ 80ของอากาศทั้งหมด จึงเป็นชั้นที่มีความหนาแน่นมากที่สุด และใกล้ผิวโลกที่สุด ในชั้นนี้จะเกิดปรากฏการณ์ที่สำคัญ ๆ ได้แก่ เมฆ ฝน หิมะ พายุ โทรโพสเฟียร์

2. ชั้นสตราโทสเฟียร์ อยู่ที่ระดับความสูงเหนือชั้น โทรโพสเฟียร์ขึ้นไปจนถึง 50 กิโลเมตรจากพื้นโลก ในชั้นนี้แทบจะไม่มีไอน้ำเลย มีก๊าซโอโซนที่ระยะสูง 48 กิโลเมตร อุณหภูมิสูงขึ้นตามระดับความสูงเพราะมีก๊าซโอโซนดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตจากดวงอาทิตย์เอาไว้ สตราโทสเฟียร์

ความสำคัญของบรรยากาศ ชั้นสตราโทสเฟียร์ โอโซนในชั้นนี้ช่วยกรองแสง UV ที่เป็นอันตรายจาก ดวงอาทิตย์ได้ถึง 99% ทำให้มนุษย์ รอดพ้นจากการเป็นมะเร็งที่ผิวหนังและการเป็นต้อที่ดวงตา บรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์มีความสงบ เครื่องบินไอพ่นจึงนิยมบินในตอนล่างของบรรยากาศชั้นนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่รุนแรงในชั้นโทรโพสเฟียร์ สตราโทสเฟียร์

3. ชั้นเมโซสเฟียร์                เป็นชั้นที่อยู่ถัดจากชั้นสตราโทสเฟียร์ขึ้นไปอีก 40 กิโลเมตร  ชั้นนี้มีโอโซนน้อยมาก   เมโซสเฟียร์

เป็นชั้นที่อยู่ระหว่างความสูง 90 - 800 กิโลเมตร 4. ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ เป็นชั้นที่อยู่ระหว่างความสูง 90 - 800 กิโลเมตร มีอุณหภูมิสูงกว่า 500 ºC การที่อุณหภูมิ สูงขึ้นก็เพราะการดูดกลืนรังสี UV โดย O2 และ N2 ซึ่งโมเลกุลส่วนใหญ่อยู่ในรูปของ อิออน เทอร์โมสเฟียร์

ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ 1.ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้เหมาะกับการดำรงชีวิตถ้าไม่มีชั้นบรรยากาศ กลางวันโลกอุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส กลางคืนอุณหภูมิ -180 องศาเซลเซียส

ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีต่าง ๆ จากดวงอาทิตย์ เช่น รังสีอัลตร้าไวโอเลต จะถูกโอโซนดูดซับไว้บางส่วน ซึ่งเป็นสาเหตุให้เซลล์ผิวหนังถูกทำลายและอาจทำให้เป็นมะเร็งผิวหนังได้

ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ ช่วยป้องกันอันตรายจากอนุภาคต่าง ๆที่มาจากนอกโลก เช่นอุกกาบาตหรือสะเก็ดจากดาวเคราะห์ต่าง ๆ เป็นต้น

ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ 4. ส่วนผสมของแก๊สต่าง ๆ ในอากาศ ช่วยให้เกิดกระบวนการบางอย่างที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่นแก๊สออกซิเจนเป็นแก๊สที่ใช้ในกระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตและช่วยให้ไฟติด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นแก๊สที่ใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช