การวิเคราะห์ความเร่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเคลื่อนที่.
Advertisements

ENGINEERING MATHAMETICS 1
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
บทที่ 2 ฟังก์ชันค่าเวกเตอร์
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
Vector Analysis ระบบ Coordinate วัตถุประสงค์
การวิเคราะห์ความเร็ว
MTE 426 การวิเคราะห์ตำแหน่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1.
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การแปลงทางเรขาคณิต F M B N A/ A C/ C B เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ B/
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การวาดและการทำงานกับวัตถุ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (Motion in one dimeusion)
Chapter 5 การประยุกต์ของ อินทิกรัล Applications of Integrals.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
Application of Graph Theory
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เวกเตอร์(Vector) โดย มาสเตอร์พิทยา ครองยุทธ
ระบบอนุภาค.
Quadratic Functions and Models
ระบบกลไก.
การสร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง
เครื่องเคาะสัญญาณ.
Force Vectors (3) WUTTIKRAI CHAIPANHA
Force Vectors (2) WUTTIKRAI CHAIPANHA
เครื่องมือที่ใช้ในการกำหนดการเคลื่อนไหว
Systems of Forces and Moments
การกระจัด ความเร็ว อัตราเร็ว
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
วงรี ( Ellipse).
การภาพจากการสะท้อนแสงของผิวโค้ง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
สื่อการสอนคณิตศาสตร์
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ความเร่ง MTE 426 การวิเคราะห์ความเร่ง พิเชษฐ์ พินิจ 1

เนื้อหาการเรียนการสอน ความเร่ง ความเร่งสัมพัทธ์ การวิเคราะห์หาความเร่ง เวกเตอร์ (Vector) ความเร่งสัมพัทธ์หรือรูปเหลี่ยมความเร่ง (Relative acceleration or acceleration polygon)

ความเร่ง 1 ความเร่งเชิงเส้น ความเร่งเชิงมุม 2

ความเร่ง องค์ประกอบความเร่ง 2 จุดศูนย์กลางความโค้ง องค์ประกอบความเร่ง องค์ประกอบความเร่งในแนว t แสดงการเปลี่ยนขนาดของความเร็ว องค์ประกอบความเร่งในแนว n แสดงการเปลี่ยนทิศทางของความเร็ว

การวิเคราะห์ความเร่งด้วยเวกเตอร์ 1 ความเร่งคอริโอลิส ความเร่งของจุด P เทียบกับ XYZ ความเร่งของ xyz เทียบกับ XYZ ความเร่งของจุด P เทียบกับ xyz ความเร็วเชิงมุมของ xyz เทียบกับ XYZ ความเร็วของจุด P เทียบกับ XYZ

การวิเคราะห์ความเร่งด้วยเวกเตอร์ 2 ความเร่งคอริโอลิสเป็นความเร่งที่เป็นผลมาจากการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่งบนอีกวัตถุหนึ่งที่มีการเคลื่อนที่แบบหมุน เงื่อนไขในการเกิดความเร่งคอริโอลิส จุดสองจุดทับกันโดยที่จุดทั้งสองอยู่บนชิ้นต่อโยงต่างกัน จุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันหนึ่งแต่ถูกบังคับให้เคลื่อนที่บนอีกชิ้นต่อโยงหนึ่ง จุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันหนึ่งแต่ถูกบังคับให้เคลื่อนที่บนอีกชิ้นต่อโยงหนึ่ง

การวิเคราะห์ความเร่งด้วยวิธีรูปเหลี่ยม 1 กำหนดความสัมพันธ์ของความเร่งให้เหมือนกับกรณีของความเร็วสัมพัทธ์ ความเร่งจะมีสององค์ประกอบ ในกรณีที่การกำหนดความสัมพันธ์ในข้อที่ 1 นั้น ก่อให้เกิดความเร่งคอริโอลิสแล้ว ในสมการความสัมพันธ์ดังกล่าวจะต้องเพิ่มพจน์ความเร่งคอริโอลิสเข้าไปด้วย

ความเร็วสัมพัทธ์ ในกรณีที่ 2 ในกรณีที่ สำหรับการเคลื่อนที่ของชิ้นต่อโยงที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอีกอันหนึ่งที่เคลื่อนที่ ความเร็วสัมบูรณ์ของจุดใดๆ ที่อยู่บนชิ้นต่อโยงอันแรกเทียบกับจุดคงที่หนึ่งๆ จะเป็นผลรวมระหว่างความเร็วสัมบูรณ์ของชิ้นต่อโยงอันที่สองกับความเร็วสัมพัทธ์ของจุดใดๆ นั้นเทียบกับชิ้นต่อโยงอันที่สองนั่นเอง

การวิเคราะห์ความเร็ว: เวกเตอร์ 1 จากระบบดังรูปได้ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ตำแหน่ง ความสัมพันธ์ของเวกเตอร์ความเร็ว

การวิเคราะห์ความเร็ว: ความเร็วสัมพัทธ์ 2 การวิเคราะห์ความเร็วของกลไกโดยวิธีความเร็วสัมพัทธ์จะอาศัยหลักการของความเร็วสัมพัทธ์ดังที่ได้กล่าวแล้ว ความเร็วสัมพัทธ์ระหว่างจุดสองจุดที่อยู่บนชิ้นต่อโยงเดียวกันจะมีทิศทางตั้งฉากกับเส้นตรงที่ลากเชื่อมต่อระหว่างจุดสองจุดนั้น หลักในการวาดแผนภาพความเร็ว กำหนดจุดคงที่ ในตำแหน่งที่เหมาะสม เวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์ต้องวาดหรือเริ่มต้นจากจุดคงที่ เท่านั้น เวกเตอร์ความเร็วสัมพัทธ์ต้องวาดเชื่อมต่อระหว่างปลายของเวกเตอร์ความเร็วสัมบูรณ์เท่านั้น